ข้าวโพด : หลังปลูกข้าวโพด 7 – 15 วัน

หลังปลูกข้าวโพด 7 – 15 วัน วัชพืชมีใบอ่อน 3 – 5 ใบ พ่นกำจัดด้วย ผลิตภัณฑ์แนะนำ   ชุดช้างศึกฆ่า สามารถพ่นทับยอดข้าวโพดภายหลังข้าวโพดงอกแล้ว หรือภายหลังปลูก 7 – 15 วัน ฆ่าวัชพืชใบกว้าง เช่น ปอวัชพืช กระดุมใบ ถั่วลิสงนา สาบม่วง เซ่งใบมน ตำแยไฟ หญ้ายาง หญ้าลิ้นงู ฆ่าวัชพืชใบแคบ เช่น หญ้าปากควาย โซบีแรน รายละเอียด ฮาสเทน ซีเนอกอน 2000 รายละเอียด เอราซีน 90 ดับบลิวจี รายละเอียด อัตราและวิธีใช้ โซบีแรน  อัตรา 40 ซีซี ผสม ฮาสเทน อัตรา 80 ซีซี ผสม ซีเนอกอน…

ข้าวโพด : หากพบปัญหาหญ้าขน หรือหญ้าโขย่ง

หากพบปัญหาหญ้าขน หรือหญ้าโขย่ง หญ้าขน หรือ หญ้าโขย่ง [Rottboella cochinchinensis (Lour.) Clayton]  เป็นวัชพืชฤดูเดียว มีต้นสูง 1.5 – 2 เมตร อาจสูงได้ถึง 4 เมตร โตได้ไวกว่าข้าวโพด แข่งขันกับข้าวโพดอย่างรุนแรง ทำให้ข้าวโพดโตช้า ผลผลิตลดลง หญ้าโขย่ง 1 ต้น จะมีเมล็ดประมาณ 2,200 – 16,500 เมล็ด การกำจัดหญ้าโขย่งที่โตแล้วทำได้ยาก จึงควรพ่นคุมเมล็ดจะได้ผลดีกว่า เอราธาลิน รายละเอียด อะโทลล์ เฟล็กซ์ รายละเอียด ผลิตภัณฑ์แนะนำ อะโทลล์ เฟล็กซ์  อัตรา 100 ซีซี ผสม เอราธาริน อัตรา 2 ลิตร (2 ขวด) ต่อพื้นที่ปลูกข้าวโพด 6 ไร่ ควรพ่นทันทีหลังปลูกข้าวโพด ในระยะ…

ข้าวโพด : หลังปลูกข้าวโพด 0 – 4 วัน

หลังปลูกข้าวโพด 0 – 4 วัน หลังปลูกข้าวโพด 0 – 4 วัน พ่นคลุมด้วย ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราซีน 50 เอสซี รายละเอียด อะโทลล์ เฟล็กซ์ รายละเอียด ชุดช้างศึกคุม อัตราใช้น้อย ปลอดภัยต่อข้าวโพด อ้อย และพืชข้างเคียง ใช้คุมวัชพืชก่อนวัชพืชงอก อัตราและวิธีใช้ อะโทลล์ เฟล็กซ์  อัตรา 15 ซีซี ผสม เอราซีน 50 เอสซี อัตรา 250 ซีซี  ผสมน้ำ 60-80 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 ไร่   หรือ พ่นคุมวัชพืชในข้าวโพด บนพื้นที่ 6 ไร่ อะโทลล์ เฟล็กซ์  อัตรา 100 ซีซี…

การกำจัดวัชพืชในนาข้าว : การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าก่อนหว่านข้าว 4 วัน

การกำจัดวัชพืชในนาข้าว การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าก่อนหว่านข้าว 4 วัน เอราเอสเทอร์พลัส หว่านให้ทั่วพื้นนาก่อนหว่านข้าวงอก 4 วัน ใช้ในอัตรา 3.2 กิโลกรัมต่อไร่ ปรับพื้นนาให้สม่ำเสมอกักน้ำในกระทงนาให้สูงประมาณ 1-2 นิ้วแล้วจึงหว่านยาให้ทั่วพื้นนาและก่อนหว่านข้าวงอกให้ไขน้ำออกจากแปลงนาให้หมดจากนั้นหลังหว่านข้าวงอกเรียบร้อยแล้วรอข้าวตั้งตัวได้แล้วจึงไขน้ำเข้านาเพื่อช่วยเร่งการเจริญเติบโตให้รักษาระดับน้ำอย่าให้ท่วมยอดข้าว การใช้ยาคุมหญ้าก่อนหว่านข้าว เอราการ์ด คุมหญ้าวัชพืชจำพวกหญ้าได้ดีโดยเฉพาะหญ้าข้าวนก ใช้ขณะลูบเทือกครั้งสุดท้าย โดยใช้วิธีหยดน้ำยาลงไปในเทือก ใช้ในอัตรา 320-400 ซีซีต่อไร่ ให้หยดลงไปในนาที่มีน้ำระดับความลึก 5-10 เซนติเมตรปล่อยให้น้ำยาตกตะกอนอยู่บนผิวดิน 2 วันแล้วค่อยระบายน้ำออกจากนา เป็นการควบคุมเมล็ดหญ้าที่ตกค้างอยู่ในแปลงนา โดยจะดูดซึมเข้าทำลายทางใบเลี้ยงเดี่ยวของวัชพืชจำพวกหญ้าและใบเลี้ยงคู่ของวัชพืชใบกว้างเมื่อเริ่มงอกออกมา จึงใช้เป็นยาคุมหญ้าก่อนวัชพืชงอก สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเพื่อน การบำรุงดูแลข้าว การเตรียมดิน และการใช้ยาคุมหญ้าก่อนหว่านข้าว การหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว และการใช้ยาคุมหญ้าหลังหว่านข้าว การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าในระยะ 7-8 วันหลังหว่านข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้าในระยะ 7-14 วันหลังหว่านข้าว สรุปการใช้ยาฆ่าหญ้าในระยะ 15-30 วันหลังหว่านข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้ากำจัดวัชพืชบริเวณหัวคันนา การใช้ยาฆ่าหญ้าลูบข้าวดีด การใช้ยาฆ่าหญ้าลูบดอกหญ้า การใช้สารกำจัดวัชพืชในนาหว่านข้าวแห้ง

การกำจัดวัชพืชในนาข้าว : การใช้ยาฆ่าหญ้ากำจัดวัชพืชบริเวณหัวคันนา

การบำรุงดูแลข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้ากำจัดวัชพืชบริเวณหัวคันนา เอราบาส ใช้ในอัตรา 120-150 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นบริเวณหัวคันนา ปลอดภัยต่อข้าวถึงแม้ละอองยาจะปลิวไปโดนข้าวบ้างก็ยังสามารถออกรวงได้ตามปกติ การใช้ยาฆ่าหญ้าลูบข้าวดีด เอราบาส ใช้ในอัตรา 200 ซีซีต่อน้ำ 1 ลิตร ใช้ลูบข้าวดีดที่มีความสูงกว่าข้าวปลูกเพื่อให้เมล็ดลีบไม่ให้สะสมเมล็ดในฤดูต่อไปโดยใช้ผ้าที่อุ้มน้ำไดด้ีพันรอบไม้ไผ่ยาวประมาณ 2 เมตรมัดให้แน่นราดด้วยเอราบาสตามอัตราที่เตรียมไว้พอชุ่ม ไม่ให้ชุ่มมากเกินไปจนหยดสารละลายเอราบาสหยดลงไปทำลายข้าวปลูกด้านล่างเสียหาย ลูบข้าวดีดที่เริ่มโผล่พ้นรวง ควรลูบครั้งที่ 2 ห่างจากครั้งแรก 10 วัน ลูบเฉพาะใบธงและรวงข้าวดีด ข้าวดีดจะแห้งตายภายใน 3 วัน ข้าวดีดยืนต้นตายไม่ล้มทับต้นข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้าลูบดอกหญ้า เอราบาส ใช้ในอัตรา 200 ซีซีต่อน้ำ 1 ลิตร ลูบดอกหญ้าขณะเริ่มโผล่รวง ลูบที่ดอกหญ้าทำให้ดอกหญ้าแห้งฝ่อไม่สามารถงอกได้ใหม่ สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเพื่อน การบำรุงดูแลข้าว การเตรียมดิน และการใช้ยาคุมหญ้าก่อนหว่านข้าว การหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว และการใช้ยาคุมหญ้าหลังหว่านข้าว การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าในระยะ 7-8 วันหลังหว่านข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้าในระยะ 7-14 วันหลังหว่านข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้ากำจัดวัชพืชบริเวณหัวคันนา การใช้สารกำจัดวัชพืชในนาหว่านข้าวแห้ง

การกำจัดวัชพืชในนาข้าว : การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าในระยะ 7-14 วันหลังหว่านข้าว

การบำรุงดูแลข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้าในระยะ 7-14 วันหลังหว่านข้าว ในช่วงนี้มีสารกำจัดวัชพืชหลายชนิดให้เลือกใช้ขึ้นอยู่กับการระบาดของวัชพืชแต่ละชนิด ฆ่าหญ้าหลากหลายชนิดทั้งวัชพืชใบใบกว้างและกก เอราโพรพาคลอร์ 70 ใช้ในอัตรา 200 ซีซีต่อไร่ พ่นหลังหว่านข้าวงอกแล้ว 7-9 วัน ขณะพ่นต้องไม่มีน้ำอยู่ในนา ภายหลังพ่นแล้ว 2-3 วันจึงไขน้ำเข้านา ระวังอย่าให้น้ำท่วมยอดข้าว ฆ่าหญ้าข้าวนก เอราโพรฟิต 500 ใช้ในอัตรา 320-360 ซีซีต่อไร่ ให้พ่นหลังหว่านข้าวงอกแล้ว7-10 วันก่อนพ่นให้ระบายน้ำออกจากแปลงนาและภายหลังพ่นแล้วให้ทดน้ำเข้านาภายใน 2-3 วันระวังอย่าให้น้ำท่วมยอดข้าว เอราคลอแรค 25 เอสซี พ่นหลังหว่านข้าวแล้ว 7-12 วัน ใช้ในอัตรา 90 ซีซีต่อไร่ ควรพ่นในขณะที่ดินกำลังหมาดๆและภายหลังพ่นให้ไขน้ำเข้านาภายใน 1-3 วัน ฆ่าหญ้าดอกขาว เอราไรซ์ พ่นหลังหว่านข้าวแล้ว 7-10 วัน ใช้ในอัตรา 30-40 ซีซีต่อไร่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกำจัดวัชพืชได้อย่างกว้างขวางมากยิ่งขึ้น ควรผสมเอราโพรพาคลอร์ 70ในอัตรา 200 ซีซีต่อไร่ ภายหลังพ่น…

การกำจัดวัชพืชในนาข้าว : การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าในระยะ 7-8 วันหลังหว่านข้าว

การบำรุงดูแลข้าว การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าในระยะ 7-8 วันหลังหว่านข้าว เอราเอสเทอร์พลัส หว่านให้ทั่วพื้นนาหลังจากหว่านข้าวงอกแล้ว 7-8 วัน ใช้ในอัตรา 3.2 กิโลกรัมต่อไร่ ก่อนหว่านให้ไขน้ำเข้านาให้มีระดับ 1-2 นิ้วภายหลังหว่านให้กักน้ำในกระทงนาอย่างน้อย 4-6 วันอย่าให้ระดับน้ำท่วมยอดข้าว สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเพื่อน การบำรุงดูแลข้าว การเตรียมดิน และการใช้ยาคุมหญ้าก่อนหว่านข้าว การหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว และการใช้ยาคุมหญ้าหลังหว่านข้าว การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าในระยะ 7-8 วันหลังหว่านข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้าในระยะ 7-14 วันหลังหว่านข้าว สรุปการใช้ยาฆ่าหญ้าในระยะ 15-30 วันหลังหว่านข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้ากำจัดวัชพืชบริเวณหัวคันนา การใช้ยาฆ่าหญ้าลูบข้าวดีด การใช้ยาฆ่าหญ้าลูบดอกหญ้า การใช้สารกำจัดวัชพืชในนาหว่านข้าวแห้ง

การกำจัดวัชพืชในนาข้าว : การหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว และการใช้ยาคุมหญ้าหลังหว่านข้าว

การบำรุงดูแลข้าว การหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว นำเมล็ดพันธุ์ข้าวที่เตรียมไว้ไปใส่ในตะกร้าไม้ไผ่สานหรือกระสอบป่านหรือถุงผ้าไปแช่ในน้ำสะอาดนานประมาณ 12-24 ชั่วโมง จากนั้นนำเมล็ดพันธุ์ที่แช่น้ำแล้วขึ้นมาวางบนพื้นที่ที่ไม่มีน้ำท่วมขังและมีอากาศถ่ายเทได้ดี นำกระสอบป่านชุบน้ำจนชุ่มสมหุ้มเมล็ดพันธุ์โดยรอบรดน้ำทุกเช้าและเย็นเพื่อรักษาความชุ่มชื้นหุ้มเมล็ดพันธุ์ไว้นานประมาณ 30-48 ชั่วโมงพร้อมที่จะนำไปหว่านโดยใช้อัตรา 10-20 กิโลกรัมต่อไร่อย่าใช้เมล็ดพันธุ์มากเกินไปนอกจากจะสิ้นเปลืองเมล็ดพันธุ์แล้วยังทำให้ข้าวงอกขึ้นหนาแน่นเป็นสาเหตุให้โรคและแมลงศัตรูข้าวมีการระบาดอย่างรุนแรงในภายหลัง การใช้ยาคุมหญ้าหลังหว่านข้าว เอราบิวทาคลอร์เซฟเฟนเนอร์ คุมวัชพืชได้กว้างขวางทั้งวัชพืชใบแคบวัชพืชใบกว้างและกก พ่นให้ทั่วพื้นที่นาหลังหว่านข้าวงอกแล้ว 1-4 วันในอัตรา 200 ซีซีต่อไร่ เมื่อข้าวตั้งตัวได้แล้วจึงค่อยไขน้ำเข้านาเพื่อช่วยเร่งการเจริญเติบโตของข้าว ระวังอย่าให้น้ำท่วมยอดข้าว ฤทธิ์ของยาจะไปยับยั้งการงอกของวัชพืช สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเพื่อน การบำรุงดูแลข้าว การเตรียมดิน และการใช้ยาคุมหญ้าก่อนหว่านข้าว การหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว และการใช้ยาคุมหญ้าหลังหว่านข้าว การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าในระยะ 7-8 วันหลังหว่านข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้าในระยะ 7-14 วันหลังหว่านข้าว สรุปการใช้ยาฆ่าหญ้าในระยะ 15-30 วันหลังหว่านข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้ากำจัดวัชพืชบริเวณหัวคันนา การใช้ยาฆ่าหญ้าลูบข้าวดีด การใช้ยาฆ่าหญ้าลูบดอกหญ้า การใช้สารกำจัดวัชพืชในนาหว่านข้าวแห้ง

การบำรุงดูแลข้าว : การเตรียมดิน และการใช้ยาคุมหญ้าก่อนหว่านข้าว

การบำรุงดูแลข้าว การเตรียมดิน กระตุ้นให้ข้าวเชื้องอกแล้วไถกลบขังน้ำหมักไว้ประมาณ 2 สัปดาห์ ไถคราดทำเทือกเพื่อปรับระดับดินนาให้ราบเรียบสม่ำเสมอป้องกันน้ำท่วมขังเป็นหย่อมๆที่เป็นสาเหตุทำให้เมล็ดข้าวเน่า แหวกร่องเป็นระยะๆเพื่อใช้เป็นทางระบายน้ำและเป็นทางเดินเวลาเข้าไปทำงาน ต้องเตรียมดินให้ดีเพื่อลดปัญหาวัชพืชที่ตกค้างและทำให้เมล็ดข้าวงอกอย่างสม่ำเสมอ สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเพื่อน

แมลงศัตรูพืชทุเรียน : หนอนด้วงหนวดยาวเจาะลำต้น

แมลงศัตรูพืชทุเรียน พ่นให้ทั่วต้นเมื่อทุเรียนเริ่มแตกใบอ่อน หนอนด้วงหนวดยาวเจาะลำต้น (Black raised spot longhorn : Batocera rufomaculata) จะวางไข่ไว้บริเวณเปลือก เมื่อฟักออกมาเป็นตัวหนอนก็จะเจาะเข้าไปทำลายในกิ่งและลำต้น ทำให้กิ่งแห้งตาย ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราโพรทริน อัตรา 40 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราท็อกซ์ อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20 เอราทริน 2.5 อีซี อัตรา 40 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราคอน 70  อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นให้โชกบริเวณลำต้นตั้งแต่โคนต้นจนกระทั่งถึงยอดรวมทั้งกิ่งขนาดใหญ่ แมลงศัตรูพืชทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้/เพลี้ยจั๊กจั่นฝอย เพลี้ยไฟ ไรแดงแอฟริกัน หนอนเจาะเมล็ด/หนอนเจาะผลทุเรียน เพลี้ยแป้ง หนอนด้วงหนวดยาวเจาะลำต้น