การบำรุงดูแลทุเรียน : การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล

การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพื่อให้มีพัฒนาการของผลอย่างสมบูรณ์   ผลิตภัณฑ์แนะนำ เกร็ดไซโฟเฟอร์ท 8-27-27 อัตรา 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร แคลซิซาน อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร ไซโฟแคล อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร คริสส์ อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร การบำรุงดูแลทุเรียน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว แตกใบอ่อน ระยะใบเพสลาด ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ระยะเหยียดตีนหนู บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม การบำรุงผลอ่อนทุเรียน การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล

การบำรุงดูแลทุเรียน : การบำรุงผลอ่อนทุเรียน

การบำรุงผลอ่อนทุเรียน เพื่อให้มีพัฒนาการของผลอย่างสมบูรณ์ ไซโฟเฟอร์ท 18-18-18 อัตรา 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร แคลซิซาน  อัตรา 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร อีลีมิน อัตรา 5 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หากมีใบอ่อนแตกแซมจำนวนมากในช่วงนี้ เพื่อลดการแตกใบอ่อนและลดปริมาณใบอ่อนลง   ผลิตภัณฑ์แนะนำ ปุ๋ยเกร็ดเอราวัณเฟอร์ท 0-52-34 อัตรา 100 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นไปบริเวณที่มีใบอ่อนแตกแซม การบำรุงดูแลทุเรียน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว แตกใบอ่อน ระยะใบเพสลาด ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ระยะเหยียดตีนหนู บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม การบำรุงผลอ่อนทุเรียน การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล

การบำรุงดูแลทุเรียน : เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม

เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม ในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนามมักพบอาการผลอ่อนร่วงมากเพื่อช่วยลดการร่วงของผล   ผลิตภัณฑ์แนะนำ ไซฟามินบีเค อัตรา 5 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2 ครั้งเมื่อดอกเริ่มบานห่างกัน 5-7 วัน การบำรุงดูแลทุเรียน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว แตกใบอ่อน ระยะใบเพสลาด ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ระยะเหยียดตีนหนู บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม การบำรุงผลอ่อนทุเรียน การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล

การบำรุงดูแลทุเรียน : ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน

ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน ในระยะนี้จำเป็นจะต้องช่วยสร้างสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการผสมเกสรถ้าหากมีน้ำมากควรลดปริมาณการให้น้ำลง ควรพ่นสารช่วยในการผสมเกสร   ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอิร์ท 23 อัตรา 5 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2 ครั้งเมื่อดอกเริ่มบานห่างกัน 5-7 วัน ไซโฟแคล อัตรา 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2 ครั้ง ห่างกัน 5-7 วัน การบำรุงดูแลทุเรียน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว แตกใบอ่อน ระยะใบเพสลาด ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ระยะเหยียดตีนหนู บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม การบำรุงผลอ่อนทุเรียน การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล

การบำรุงดูแลทุเรียน : บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง

บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง ในระยะนี้จะมีการสร้างเพศดอกอย่างรวดเร็ว   ผลิตภัณฑ์แนะนำ บอร์พาสส์ อัตรา 5  ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ไซโฟแคล อัตรา 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เอิร์ท 23 อัตรา 5 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร การบำรุงดูแลทุเรียน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว แตกใบอ่อน ระยะใบเพสลาด ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ระยะเหยียดตีนหนู บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม การบำรุงผลอ่อนทุเรียน การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล

การบำรุงดูแลทุเรียน : ระยะเหยียดตีนหนู

ระยะเหยียดตีนหนู แก้ปัญหาดอกกุดสั้น ดอกมีอาการกุดสั้นอันเนื่องมาจากผลตกค้างของสารแพคโคลบิวทราโซลมากเกินไปดังนั้นในระยะเหยียดตีนหนูควรมีการใช้สารจิบเบอเรลลินยืดช่อดอกตามความเหมาะสม   ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราจิ๊บ 100 อัตรา ½ – 1 เม็ด ต่อน้ำ 200 ลิตร ซีเนอกอน 2000 อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ไซโฟเฟอร์ท 7-13-34 อัตรา 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร การบำรุงดูแลทุเรียน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว แตกใบอ่อน ระยะใบเพสลาด ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ระยะเหยียดตีนหนู บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม การบำรุงผลอ่อนทุเรียน การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล

โรคราน้ำค้างในข้าวโพด

โรคราน้ำค้างในข้าวโพด โรคราน้ำค้างของข้าวโพดเกิดจากราสาเหตุที่เป็นราชั้นต่ำกลุ่มราน้ำ  รานี้มีสปอร์ลักษณะใส ชอบอากาศเย็น ประมาณ 22-25 องศาเซลเชียส และความชื้นสูง ข้าวโพดที่อ่อนแอต่อโรคนี้ได้แก่ข้าวโพดหวานและข้าวโพดฝักอ่อน ราสาเหตุผลิตสปอร์ได้ทั้งด้านบนใบและใต้ใบช่วงเวลาเช้า ประมาณ ตีสามถึง ตีห้าก่อนแพร่ระบาดออกไปกับละอองหมอก ไปยังต้นข้าวโพดปกติที่อายุน้อยกว่า 1 เดือน การระบาดเกิดได้ดีโดยเฉพาะการปลูกข้าวโพดในพื้นที่หุบเขาที่มีอากาศเย็น น้ำค้างแรง และมีหมอกปกคลุมในหุบเขาเป็นเวลานาน เมื่อสปอร์งอกเข้าสู่ใบพืชจะสร้างเส้นใยในผิวใบอย่างรวดเร็วไปตามความยาวของใบ จึงเห็นอาการเป็นแถบสีอ่อนสลับสีเขียวปกติของใบ หากอาการรุนแรงรอยแผลสีซีดจะมีขนาดใหญ่ใบตามแผ่นใบในกรวยใบ เมื่อราสาเหตุใช้อาหารใบใบหมด จะทำให้ใบเปลี่ยนสีเป็นสีเหลืองและสีน้ำตาล ต้นข้าวโพดไม่เจริญเติบโต ลำต้นเตี้ยแคระ ข้อไม่ขยาย ไม่ออกดอก และไม่ออกฝัก หากอาการบนใบไม่รุนแรงข้าวโพดอาจออกฝัก และจะได้ฝัก บิดเบี้ยว ไม่สมบูรณ์ ไม่ติดเมล็ด หรือติดเมล็ดเล็กน้อย เมื่อข้าวโพดได้รับเชื้อสาเหตุแล้ว ต้นที่เป็นโรคจะไม่สามารถรักษาให้เป็นปกติได้  แต่ยังสามารถผลิต ราสาเหตุเพื่อการระบาดได้ต่อไปในแปลงปลูก ราสาเหตุที่ติดมากับเมล็ดจะเข้าลาย โดยอยู่อาศัยในต้นข้าวโพดตั้งแต่เริ่มงอก จนถึงแสดงอาการใบสีซีด ใช้เวลาประมาณ 10 – 14 วัน สปอร์ที่ผลิตขึ้นจะแพร่ระบาดไปยังข้าวโพดที่อายุต่ำกว่า 1 เดือน ถึง 45 วัน  โดยจะต้องมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะ เป็นปัจจัยประกอบด้วย…

โรคราน้ำค้างในข้าวโพด

<h2 style=”text-align: center;”><span style=”color: #008000;”><strong>โรคราน้ำค้างในข้าวโพด</strong></span></h2> โรคราน้ำค้างของข้าวโพดเกิดจากราสาเหตุที่เป็นราชั้นต่ำกลุ่มราน้ำ  รานี้มีสปอร์ลักษณะใส ชอบอากาศเย็น ประมาณ 22-25 องศาเซลเชียส และความชื้นสูง ข้าวโพดที่อ่อนแอต่อโรคนี้ได้แก่ข้าวโพดหวานและข้าวโพดฝักอ่อน ราสาเหตุผลิตสปอร์ได้ทั้งด้านบนใบและใต้ใบช่วงเวลาเช้า ประมาณ ตีสามถึง ตีห้าก่อนแพร่ระบาดออกไปกับละอองหมอก ไปยังต้นข้าวโพดปกติที่อายุน้อยกว่า 1 เดือน การระบาดเกิดได้ดีโดยเฉพาะการปลูกข้าวโพดในพื้นที่หุบเขาที่มีอากาศเย็น น้ำค้างแรง และมีหมอกปกคลุมในหุบเขาเป็นเวลานาน เมื่อสปอร์งอกเข้าสู่ใบพืชจะสร้างเส้นใยในผิวใบอย่างรวดเร็วไปตามความยาวของใบ จึงเห็นอาการเป็นแถบสีอ่อนสลับสีเขียวปกติของใบ หากอาการรุนแรงรอยแผลสีซีดจะมีขนาดใหญ่ใบตามแผ่นใบในกรวยใบ เมื่อราสาเหตุใช้อาหารใบใบหมด จะทำให้ใบเปลี่ยนสีเป็นสีเหลืองและสีน้ำตาล ต้นข้าวโพดไม่เจริญเติบโต ลำต้นเตี้ยแคระ ข้อไม่ขยาย ไม่ออกดอก และไม่ออกฝัก หากอาการบนใบไม่รุนแรงข้าวโพดอาจออกฝัก และจะได้ฝัก บิดเบี้ยว ไม่สมบูรณ์ ไม่ติดเมล็ด หรือติดเมล็ดเล็กน้อย เมื่อข้าวโพดได้รับเชื้อสาเหตุแล้ว ต้นที่เป็นโรคจะไม่สามารถรักษาให้เป็นปกติได้  แต่ยังสามารถผลิต ราสาเหตุเพื่อการระบาดได้ต่อไปในแปลงปลูก ราสาเหตุที่ติดมากับเมล็ดจะเข้าลาย โดยอยู่อาศัยในต้นข้าวโพดตั้งแต่เริ่มงอก จนถึงแสดงอาการใบสีซีด ใช้เวลาประมาณ 10 – 14 วัน สปอร์ที่ผลิตขึ้นจะแพร่ระบาดไปยังข้าวโพดที่อายุต่ำกว่า 1 เดือน ถึง…

โรคแคงเกอร์ของส้มโอ

ปัจจุบันส้มโอเป็นพืชเศรษฐกิจที่ทำรายได้ดีมาก โดยเฉพาะสวนส้มโอที่ผลิตเพื่อการส่งออก  แต่ปัญหาศัตรูพืชที่เป็นเรื่องใหญ่คือโรคแคงเกอร์ ซึ่งเป็นโรคพืชกักกันในหลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศในยุโรป และออสเตรเลีย  และเนื่องด้วยสถานะการณ์การระบาดของโรคไข้โควิด – 19 จึงส่งผลพวงมายังการค้า การส่งออก อีกทั้งการขาดแรงงานที่เป็นปัจจัยหลักของการทำสวนผลไม้ จึงทำให้โรคแคงเกอร์ของส้มโอทวีความรุนแรงมากขึ้นไปอีก ปัจจัยอื่นๆ นอกเหนือจากการขาดแรงงาน และปัญหาการตลาด ก็คือ การลดมาตรการควบคุมโรคพื้นฐาน ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งต่อการรักษาสวนผลไม้ให้คงอยู่ และประคับประคองไปจนกว่าสถานะการณ์ภายนอกจะคลี่คลายลง สาเหตุ โรคแคงเกอร์ของส้มโอ มีสาเหตุจากแบคทีเรียชนิดเดียวกับส้มและมะนาว และพืชตระกูลส้มอีกหลายชนิด  นั่นคือ แบคทีเรีย แซนโทโมแนส ซิไตร ซิไตร ที่ชอบอากาศร้อนชื้น ลักษณะอาการ ลักษณะอาการของโรค แบคทีเรียสาเหตุทำให้เกิดรอยแผลเป็นขุยสีสนิมบน ใบอ่อน กิ่งอ่อน ยอดอ่อน และผล แบคทีเรียใช้เวลานานประมาณ 7-10 วัน  จึงจะแสดงอาการให้เห็น  ผลส้มจะอ่อนแอต่อการเข้าทำลายในช่วง 2 เดือนแรก ตั้งแต่เริ่มผสมเกสร ช่วงเวลาเริ่มระบาดจะตั้งต้นเมื่อเริ่มย่างฤดูฝน ในขณะที่ส้มโอแตกยอดใหม่ และมีฝนต้นฤดูโปรายปรายลงมา ช่วงที่ระบาดสูงสุดคือช่วงกลางฤดูฝน และลดโรคจะลดลงเมื่อ ฝนทิ้งช่วง หรือหมดฤดูฝนนั่นเอง อาการที่พบบนใบ เป็นจุดนูนสีเหลือง ฉ่ำน้ำ…

การบำรุงดูแลทุเรียน : เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู)

เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ต้องพิจารณาถึงความพร้อมต่อการออกดอกด้วย สภาพที่เหมาะสมที่ควรสังเกตคือ     เมื่อใบแก่มีความพร้อมต่อการออกดอก     สภาพของดินจะต้องมีการระบายน้ำได้ดีหรือจะต้องมีร่องน้ำสำหรับการะบายน้ำออกไม่ควรมีน้ำท่วมขัง     ปริมาณน้ำฝนจะต้องลดลงหรือจะต้องมีช่วงฝนทิ้งช่วงประมาณ 1 เดือนและก่อนเปิดตาดอกจะต้องปลอดฝนอย่างน้อย 5-7 วัน     หากใช้สารเอราบิวทราซอล 15 ดับบลิวพีให้สังเกตภายหลังจากพ่นสารแล้ว 6-8 สัปดาห์ และมีช่วงกระทบแล้งอย่างน้อย 5-7 วันก็เหมาะสมสำหรับการดึงตาดอก   ผลิตภัณฑ์แนะนำ เซ็ท 46 อัตรา 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร อัลก้า อัตรา 30 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ไซโฟเฟอร์ท 6-10-32 อัตรา 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ไซโฟแคล อัตรา 10…