แมลงศัตรูพืชทุเรียน : หนอนด้วงหนวดยาวเจาะลำต้น

แมลงศัตรูพืชทุเรียน พ่นให้ทั่วต้นเมื่อทุเรียนเริ่มแตกใบอ่อน หนอนด้วงหนวดยาวเจาะลำต้น (Black raised spot longhorn : Batocera rufomaculata) จะวางไข่ไว้บริเวณเปลือก เมื่อฟักออกมาเป็นตัวหนอนก็จะเจาะเข้าไปทำลายในกิ่งและลำต้น ทำให้กิ่งแห้งตาย ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราโพรทริน อัตรา 40 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราท็อกซ์ อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20 เอราทริน 2.5 อีซี อัตรา 40 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราคอน 70  อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นให้โชกบริเวณลำต้นตั้งแต่โคนต้นจนกระทั่งถึงยอดรวมทั้งกิ่งขนาดใหญ่ แมลงศัตรูพืชทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้/เพลี้ยจั๊กจั่นฝอย เพลี้ยไฟ ไรแดงแอฟริกัน หนอนเจาะเมล็ด/หนอนเจาะผลทุเรียน เพลี้ยแป้ง หนอนด้วงหนวดยาวเจาะลำต้น

แมลงศัตรูพืชทุเรียน : เพลี้ยแป้ง

แมลงศัตรูพืชทุเรียน เพลี้ยแป้ง (Mealybug: Planococcus minor) ปกติจะมีมดพาเพลี้ยแป้งมา ดังนั้นถ้าเห็นมดก็ควรใช้ผ้าชุบ เอราท็อกซ์ พันกิ่งก็สามารถช่วยลดการระบาดได้ในระดับหนึ่ง ส่วนใหญ่มักระบาดอยู่ตามซอกร่องหนามทุเรียน มูลของเพลี้ยแป้งมักทำให้เกิดโรคราดำตามมา ทำให้คุณภาพผลตกต่ำลง ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราคอน 70 อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20 เอราท็อกซ์ อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20 เอรามอล 83 อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 เอราเมท โกลด์  อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นบริเวณผลที่พบการระบาด แมลงศัตรูพืชทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้/เพลี้ยจั๊กจั่นฝอย เพลี้ยไฟ ไรแดงแอฟริกัน หนอนเจาะเมล็ด/หนอนเจาะผลทุเรียน เพลี้ยแป้ง หนอนด้วงหนวดยาวเจาะลำต้น

แมลงศัตรูพืชทุเรียน : หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน และหนอนเจาะผลทุเรียน

แมลงศัตรูพืชทุเรียน พ่นให้ทั่วต้นเมื่อทุเรียนเริ่มแตกใบอ่อน หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน (Durian seed borer: Mudaria luteileprosa) ชาวสวนเรียกว่า “หนอนใต้” ผีเสื้อกลางคืนจะวางไข่ไว้ที่เปลือกทุเรียน เมื่อหนอนฝักเป็นตัวก็จะไชเข้าไปกัดกินในเมล็ดทุเรียนเมื่อผลแก่ใกล้เก็บเกี่ยวหนอนก็จะออกจากผลทิ้งตัวเข้าดักแด้ในดิน หนอนเจาะผลทุเรียน (Durian borer: Conogethes punctiferalis) พบระบาดตั้งแต่ผลทุเรียนอายุประมาณ 2 เดือนขึ้นไป จะเจาะทำลายผลบริเวณผิวเปลือกหรือเจาะกินเนื้อในผลบริเวณใกล้กับขั้วผล มักจะพบระบาดมากกับทุเรียนที่มีผลติดซ้อนกัน ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอรานูฟอส อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราโพรทริน อัตรา 60 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราทริน 2.5 อีซี อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอรามิลิน อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นบริเวณผลตั้งแต่ผลอ่อนให้ทั่วต้น ควรพ่นซ้ำทุกๆ 7-10 วัน จนกว่าการระบาดจะลดลง เอราด๊อกซาขาบ…

แมลงศัตรูพืชทุเรียน : ไรแดงแอฟริกัน

แมลงศัตรูพืชทุเรียน ไรแดงแอฟริกัน (African red mite: Eutetranychus africanus) จะดูดน้ำเลี้ยงด้านบนของใบ โดยเฉพาะบริเวณเส้นกลางใบ ทำให้ใบซีดขาวและร่วงหล่นในที่สุด ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราเม็คติน อัตรา 15 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราซัล อัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ไมทาไซด์ อัตรา20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราไมท์ อัตรา 20 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ทานอส  อัตรา 15 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เอราเฮก อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เอราติน 55  อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20…

แมลงศัตรูพืชทุเรียน : เพลี้ยไฟ

แมลงศัตรูพืชทุเรียน เพลี้ยไฟ (Thrips: Scirtothrips dorsalis) จะดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ่อน ทำให้ใบหงิกบิดเบี้ยว ใบแห้งและร่วงหล่นในที่สุด ผลิตภัณฑ์แนะนำ อีมาไซด์ 5% ดับบลิวจี กลุ่ม 6 อัตรา 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2 ครั้ง ทุก 7 วัน เอราคอน 70 ดับบลิวจี กลุ่ม 4A อัตรา 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2 ครั้ง ทุก 7 วัน เอราทริป โกลด์ กลุ่ม 2B อัตรา 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2…

แมลงศัตรูพืชทุเรียน : เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน

แมลงศัตรูพืชทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน (Durian psyllid: Allocaridara malayensis) เข้าทำลายในช่วงใบอ่อน ดูดกินน้ำเลี้ยงที่ใบ ทำให้เป็นจุดเหลืองๆ ทำให้ใบหงิกงอ แห้งและร่วงในที่สุด   เพลี้ยจั๊กจั่นฝอยทุเรียน (Durian leafhopper: Amarasca durianae) เข้าทำลายในช่วงใบอ่อน ทำให้ใบไหม้แห้งและร่วงหล่นไปในที่สุด ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราทริน 2.5 อีซี อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราคอน 70 อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เอราทริป 5 เอสซี อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราท็อกซ์ อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นให้ทั่วต้นเมื่อทุเรียนเริ่มแตกใบอ่อน แมลงศัตรูพืชทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้/เพลี้ยจั๊กจั่นฝอย เพลี้ยไฟ ไรแดงแอฟริกัน หนอนเจาะเมล็ด/หนอนเจาะผลทุเรียน…

โรคพืชทุเรียน : โรคราแป้ง

โรคราแป้ง (Powdery mildew) เกิดจากเชื้อรา ออยเดียม Oidium sp.   มักพบระบาดในแปลงปลูกที่ปลูกใกล้กับสวนยางพาราหรือบริเวณป่า มักระบาดตั้งแต่ผลอ่อนและช่วงพัฒนาการของผล ดูเหมือนเป็นผงแป้งขาวๆซึ่งก็คือเส้นใยและส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อรา ถ้าระบาดมากอาจจะทำให้ผลอ่อนร่วงได้   ผลิตภัณฑ์แนะนำ โซซิม 50 อัตรา 15 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราวิล อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราซัล อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นบริเวณผลทุเรียนให้ทั่วทั้งต้น โรคพืชทุเรียน โรครากเน่า โคนเน่า โรคราสีชมพู โรคจุดสนิมสาหร่าย โรคใบจุด หรือโรคแอนแทรคโนส โรคใบติด หรือใบไหม้ โรคราแป้ง

โรคพืชทุเรียน : โรคใบติด หรือใบไหม้

โรคใบติด หรือใบไหม้ (Leaf blight) เกิดจากเชื้อรา ไรซอกโทเนีย (Rhizoctoniasp.)   แผลคล้ายน้ำร้อนลวกที่ใบต่อมาแห้งเป็นสีน้ำตาลติดกันด้วยเส้นใยและหลุดร่วงในที่สุด เชื้อจะตกค้างอยู่ในดินตามเศษซากพืช เมื่อมีความชื้นก็จะเข้าทำลายตั้งแต่ระยะที่เป็นใบอ่อน   ผลิตภัณฑ์แนะนำ ฟราวไซด์  อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร โคปิน่า 85 ดับบลิวพี ในอัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ไอโรเน่ ดับบลิวจี ในอัตรา 10-20 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เอราโปรมูเร่ อัตรา 15 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร โรคพืชทุเรียน โรครากเน่า โคนเน่า โรคราสีชมพู โรคจุดสนิมสาหร่าย โรคใบจุด หรือโรคแอนแทรคโนส โรคใบติด หรือใบไหม้ โรคราแป้ง

โรคพืชทุเรียน : โรคใบจุด หรือ โรคแอนแทรคโนส

โรคใบจุด หรือ โรคแอนแทรคโนส เกิดจากเชื้อรา คอลเลโตตริคัม Colletotrichum gloeosporioides, Colletotrichum zibethinum   พบอาการที่ใบเป็นวงแผลสีน้ำตาลแดงซ้อนกัน มักเกิดที่ขอบใบและกลางใบกระจายทั่วทั้งต้น เข้าทำลายดอกในระยะดอกบาน ทำให้ดอกเน่าก่อนบาน แห้งและร่วงหล่นไป ในระยะติดผลก็พบระบาดเช่นเดียวกันและแสดงอาการได้ชัดเจนในช่วงหน้าแล้ง พันธุ์ที่อ่อนแอมากคือพันธุ์ชะนี   ผลิตภัณฑ์แนะนำ ฟราวไซด์  อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราสตาร์ 32.5 เอสซี อัตรา 5-10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เรสเปคท์ บูล 72 ดับบลิวพี อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เอราสตาร์ อัตรา 5-10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราคลอราซ 450  อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร…

โรคพืชทุเรียน : โรคจุดสนิมสาหร่าย

โรคจุดสนิมสาหร่าย (Agal Spot) เกิดจากสาหร่ายสีเขียว Cephaleurosvirescense   พบระบาดมากในแหล่งเพาะปลูกที่มีความชื้นสูง ต้นทุเรียนมีพุ่มแน่นทึบ ใบและกิ่งได้รับแสงแดดน้อย สาหร่ายสีเขียวจะเข้าทำลายที่ใบและกิ่ง ที่จะเห็นเป็นจุดแฉกคล้ายดาวสีเขียวปนเทาจนกระทั่งกลายเป็นสีน้ำตาลคล้ายๆสีสนิม การระบาดที่กิ่งจะเห็นเป็นขนสีน้ำตาลแดงขึ้นเป็นหย่อมๆบริเวณด้านบนของกิ่ง ทำให้เปลือกกิ่งแตกและแห้งตายในที่สุด   ผลิตภัณฑ์แนะนำ พ่นทางใบด้วย โคปิน่า85 ดับบลิวพี อัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ไอโรเน่ ดับบลิวจี อัตรา 10-20 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พีเรสเปคท์ บูล 72 ดับบลิวพี อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นบริเวณใบและกิ่งที่พบการเกิดโรค สำหรับการทากิ่งและลำต้นภายหลังตัดแต่งกิ่งใช้ โคปิน่า 85 ดับบลิวพี อัตรา40กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร ไอโรเน่ ดับบลิวจี อัตรา 10-20 กรัมต่อน้ำ 1ลิตร ทาให้ทั่วบริเวณกิ่งและลำต้นที่เป็นโรค โรคพืชทุเรียน…