แมลงศัตรูข้าว : แมลงสิง

แมลงสิง ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยใช้ปากแทงดูดกินน้ำเลี้ยงจากเมล็ดข้าวในระยะน้ำนม พบรูบนเปลือกทำให้คุณภาพข้าวเสียน้ำหนักเมล็ดลดลง คาร์บาริล 85 ดับบลิวพี ใช้ในอัตรา 20-40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด แมลงศัตรูข้าว เพลี้ย หนอนห่อใบข้าว เพลี้ยไฟข้าว แมลงสิง หนอนกอข้าว หนอนกระทู้กล้า แมลงหล่า หอยเชอรี่

แมลงศัตรูข้าว : เพลี้ยไฟข้าว

เพลี้ยไฟข้าว พบทำลายหลังหว่านข้าว 2-3 สัปดาห์ โดยเฉพาะในสภาพอากาศร้อนแห้งแล้งหรือฝนทิ้งช่วงนานติดต่อกันหรือสภาพนาน้ำแห้ง กำจัดด้วย เอราท็อกซ์ ใช้ในอัตรา 2-4 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด เอราคอน 70 ใช้ในอัตรา 1-2 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด อีมาไซด์  อัตรา 5 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด เอรามอล 83 พ่น 2 ครั้ง ทุก 7 วัน รายละเอียด แมลงศัตรูข้าว เพลี้ย หนอนห่อใบข้าว เพลี้ยไฟข้าว แมลงสิง หนอนกอข้าว หนอนกระทู้กล้า แมลงหล่า หอยเชอรี่

แมลงศัตรูข้าว : หนอนห่อใบข้าว

หนอนห่อใบข้าว บริเวณที่ถูกทำลายจะเป็นทางขาวยาวขนานกับเส้นกลางใบ หนอนจะใช้ใยเหนียวที่สกัดจากปากดึงขอบใบข้าวทั้งสองด้านเข้าหากันเพื่อห่อตัวหนอนไว้ จะทำลายใบข้าวทุกระยะการเจริญเติบโตของข้าวทำให้เมล็ดข้าวลีบการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในปริมาณมากก็เป็นสาเหตุของการระบาดได้ กำจัดด้วย เอรานูฟอส ใช้ในอัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด เอราทริป 5 เอสซี  อัตรา 30 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด อีมาไซด์ อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2 ครั้ง ทุก 10 วัน รายละเอียด แมลงศัตรูข้าว เพลี้ย หนอนห่อใบข้าว เพลี้ยไฟข้าว แมลงสิง หนอนกอข้าว หนอนกระทู้กล้า แมลงหล่า หอยเชอรี่

แมลงศัตรูข้าว : เพลี้ย

แมลงศัตรูข้าว : เพลี้ย เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ทำให้ต้นข้าวมีอาการเหลืองแห้งลักษณะคล้ายถูกน้ำร้อนลวกแห้งตายเป็นหย่อมๆจะพบในระยะข้าวแตกกอถึงระยะออกรวง เพลี้ยกระโดดหลังขาว ชอบดูดกินน้ำเลี้ยงบนข้าวต้นอ่อนต้นข้าวที่ถูกทำลายใบจะมีสีเหลืองส้ม จะอาศัยอยู่บริเวณโคนต้นข้าวและจะอพยพออกจากแปลงข้าวเมื่อข้าวจะออกดอก เพลี้ยจั๊กจั่นสีเขียว จะอพยพเข้าแปลงข้าวทันทีหลังในช่วงที่ข้าวกำลังเจริญเติบโตตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะดูดน้ำเลี้ยงจากใบและลำต้นข้าวทำให้ข้าวชะงักการเจริญเติบโตและอาจแห้งตายได้ในที่สุดเป็นแมลงที่เป็นพาหะของ “โรคใบสีส้ม” ด้วย เพลี้ยจั๊กจั่นปีกลายหยัก ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบและกาบใบข้าวทำให้ปลายใบแห้งและขอบใบเปลี่ยนเป็นสีส้มยังเป็นพาหะของ “โรคใบสีส้ม” และ “โรคหูด” ด้วย กำจัดด้วย เอราเฟซิน 25 WP ใช้ในอัตรา 20 กรัมผสมน้ำ 20 ลิตรเริ่มพ่นเมื่อตรวจพบแมลงถึงระดับ 10 ตัวต่อกอในระยะหลังหว่านหรือปักดำถึงระยะแตกกอเต็มที่หรือตรวจพบแมลง 20 ตัวต่อกอในระยะตั้งท้อง รายละเอียด เอราท็อกซ์ ใช้ในอัตรา 2-4 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตรเริ่มพ่นในระยะข้าวตั้งท้องถึงออกรวงปรับหัวฉีดให้พ่นละอองยาลงบริเวณโคนกอข้าวให้มากที่สุด รายละเอียด เอราขาบ ใช้ในอัตรา 30 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตรพ่นเมื่อเริ่มพบการระบาด รายละเอียด เอราโปรขาบ ใช้ในอัตรา 3 กิโลกรัมต่อไร่ หว่านหลังปลูกข้าว 20 วัน รายละเอียด เอราโทเอต…

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูมะม่วง : บั่วปมใบมะม่วง

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูมะม่วง บั่วปมใบมะม่วง (Mango gall midge : Erosomyia mangiferae) แมลงสร้างปมในดอกมะม่วงและในก้านช่อ ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราเมท โกลด์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด เอรามอล 83 อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูมะม่วง กลุ่มเพลี้ย 1 กลุ่มเพลี้ย 2 กลุ่มหนอน กลุ่มด้วง กลุ่มแมลงวัน ไรแดงมะม่วง บั่วปมใบมะม่วง

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูมะม่วง : ไรแดงมะม่วง

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูมะม่วง ไรแดงมะม่วง (Mango red mite : Oligonychus  mangiferus) ผลิตภัณฑ์แนะนำ ไมทาไซด์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 40 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด เอราไมท์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด เอราซัล อัตราและวิธีใช้ อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด เอราเม็คติน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 15 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด พ่น 1-3 ครั้งห่างกัน 4 วัน ทานอส อัตราและวิธีใช้ อัตรา 15 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด…

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูมะม่วง : กลุ่มแมลงวัน

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูมะม่วง แมลงวันผลไม้ตะวันออก (Oriental fruit fly : Bactrocera dorsalis)  แมลงวันทอง แมลงวันผลฝรั่ง (Guava fruit fly : Bactrocera correcta)  แมลงวันมะม่วง(Oriental fruit fly : Bactrocera sp.) การป้องกัน ควรใช้วิธีห่อผล เมื่อเริ่มติดผล การกำจัดโดยการพ่นด้วยเหยื่อพิษ ที่ใช้สูตรผสม เอราเซ็ค 35 อีซี  อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด เอรามอล 83  อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด เอราเมท โกลด์  อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด…

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูมะม่วง : กลุ่มเพลี้ย 2

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูมะม่วง เพลี้ยหอยขี้ผึ้งสีแดง (Red wax scale : Ceroplastes  rubens) เพลี้ยหอยขี้ผึ้งขาว (Solf wax scale : Ceroplastes destructor) เพลี้ยหอยแดง (California red scale : Aonidiella aurantia) เพลี้ยหอยเกราะอ่อนสีน้ำตาล (Brown solfscale : Coccus  hesperidum) เพลี้ยหอยกาแฟสีเขียว (Green coffee scale : Coccus coffee scale) เพลี้ยแป้งเจบี (Jack Beardsley mealybug : Pseudococcus  jackbeardsleyi) เพลี้ยหอยมะม่วงสีน้ำตาลดำ (Mango blackish brown scale : Xenolecanium  mangiferae) เพลี้ยหอยมะม่วง (Mango scales :…

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูมะม่วง : กลุ่มด้วง

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูมะม่วง ด้วงงวงกัดใบมะม่วง (Mango leaf weevil : Deporaus  marginatus) ด้วงงวงเมล็ดมะม่วง (Mango seed weevil : Sterochetus  mangiferae) ด้วงงวงเมล็ดมะม่วงแถบกว้าง (Broad banded mango seed weevil : Sternochetus  olivieri) ด้วงงวงเจาะผลมะม่วง (Mango pulp weevil : Sternochetus  frigidus) ด้วงเจาะลำต้นมะม่วง (Mango stem borer beetles : Olenecamptus  optatus) ด้วงบ่าหนามหลังจุดขาว (Mango longhorn beetle : Batocera  rubus) ด้วงเจาะกิ่งมะม่วง (Mango trunk and branch borer : Phytododera  integra)…

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูมะม่วง : กลุ่มหนอน

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูมะม่วง หนอนห่อใบมะม่วง (Mango leaf folder : Orthaga  spp.) หนอนชักใยมะม่วง (Mango leaf webber : Orthaga euadrusalis) หนอนบุ้งกินใบ (Leaf eating caterpillar : Dasychira mendosa) บุ้งมะม่วงใหญ่ (Large mango lappet moth : Gastropacha  pardalis) บุ้งมะม่วงจุดฟ้า (Blue spotted mango tussock moth : Lymantria  atemeles) ผีเสื้อหนอนบุ้งขาวปีกแหลม(White angle winged moth : Arctornis  cygna) บุ้งหูแดง(Red eared caterpillar : Olenem  endosa) บุ้งหูดำ(Black eared hairy…