แมลงศัตรูพืชทุเรียน : เพลี้ยไฟ

แมลงศัตรูพืชทุเรียน เพลี้ยไฟ (Thrips: Scirtothrips dorsalis) จะดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ่อน ทำให้ใบหงิกบิดเบี้ยว ใบแห้งและร่วงหล่นในที่สุด ผลิตภัณฑ์แนะนำ อีมาไซด์ 5% ดับบลิวจี กลุ่ม 6 อัตรา 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2 ครั้ง ทุก 7 วัน เอราคอน 70 ดับบลิวจี กลุ่ม 4A อัตรา 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2 ครั้ง ทุก 7 วัน เอราทริป โกลด์ กลุ่ม 2B อัตรา 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2…

แมลงศัตรูพืชทุเรียน : เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน

แมลงศัตรูพืชทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน (Durian psyllid: Allocaridara malayensis) เข้าทำลายในช่วงใบอ่อน ดูดกินน้ำเลี้ยงที่ใบ ทำให้เป็นจุดเหลืองๆ ทำให้ใบหงิกงอ แห้งและร่วงในที่สุด   เพลี้ยจั๊กจั่นฝอยทุเรียน (Durian leafhopper: Amarasca durianae) เข้าทำลายในช่วงใบอ่อน ทำให้ใบไหม้แห้งและร่วงหล่นไปในที่สุด ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราทริน 2.5 อีซี อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราคอน 70 อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เอราทริป 5 เอสซี อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราท็อกซ์ อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นให้ทั่วต้นเมื่อทุเรียนเริ่มแตกใบอ่อน แมลงศัตรูพืชทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้/เพลี้ยจั๊กจั่นฝอย เพลี้ยไฟ ไรแดงแอฟริกัน หนอนเจาะเมล็ด/หนอนเจาะผลทุเรียน…

งานเลี้ยงสังสรรค์ร้านค้า SPACE DAY ERAWAN GRANDE CENTRE POINT SPACE PATTAYA

1 พฤศจิกายน 2565 คุณเสรี สุพรรณธะริดา ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เอราวัณเคมีเกษตร จำกัด เป็นประธานในพิธีเปิดงานเลี้ยงสังสรรค์ร่วมกับพันธมิตรร้านค้า โรงแรมแกรนด์ เซนเตอร์ พอยต์ สเปซ พัทยา ภายใต้รูปแบบ SPACE DAY ERAWAN ซึ่งมีการจัดเลี้ยงและแนะนำผลิตภัณฑ์คุณภาพ โดยท่านวิทยากรผู้เชี่ยวชาญนักวิชาการในแขนงต่างๆที่ให้ความรู้และผลวิจัยที่ให้ผลลัพธ์ที่ดี สร้างความมั่นใจแก่ร้านค้า โดยภายในงานมีลำดับดังนี้   18.00 น.  ลูกค้าลงทะเบียนเข้าร่วมงาน ‘SAPCE DAY ERAWAN’   ภายในงานยังมีกิจกรรมสนุกสนาน ถ่ายภาพร่วมกับผู้บริหารและทีมงานอย่างเป็นกันเอง ถ่ายรูปร่วมกับประธานกรรมการบริหาร คุณเสรี สุพรรณธะริดา และคณะผู้บริหาร 19.00 น. ประธานกรรมการบริหาร คุณเสรี สุพรรณธะริดา กล่าวเปิดงานต้อนรับแขกผู้มีเกียรติ พร้อมกับการแนะนำผลิตภัณฑ์คุณภาพต่างๆจากอ. สุเทพ สหายา ผู้เชี่ยวชาญด้านกีฏาและสัตววิทยาและ คุณโกศล นาคเรือง ผู้อำนวยการฝ่ายการตลาด สร้างความมั่นใจในการแนะนำสู่ตลาดต่อไป เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ ประธานกรรมการบริหาร คุณเสรี สุพรรณธะริดา และคณะทีมผู้บริหาร…

โรคพืชทุเรียน : โรคราแป้ง

โรคราแป้ง (Powdery mildew) เกิดจากเชื้อรา ออยเดียม Oidium sp.   มักพบระบาดในแปลงปลูกที่ปลูกใกล้กับสวนยางพาราหรือบริเวณป่า มักระบาดตั้งแต่ผลอ่อนและช่วงพัฒนาการของผล ดูเหมือนเป็นผงแป้งขาวๆซึ่งก็คือเส้นใยและส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อรา ถ้าระบาดมากอาจจะทำให้ผลอ่อนร่วงได้   ผลิตภัณฑ์แนะนำ โซซิม 50 อัตรา 15 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราวิล อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราซัล อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นบริเวณผลทุเรียนให้ทั่วทั้งต้น โรคพืชทุเรียน โรครากเน่า โคนเน่า โรคราสีชมพู โรคจุดสนิมสาหร่าย โรคใบจุด หรือโรคแอนแทรคโนส โรคใบติด หรือใบไหม้ โรคราแป้ง

โรคพืชทุเรียน : โรคใบติด หรือใบไหม้

โรคใบติด หรือใบไหม้ (Leaf blight) เกิดจากเชื้อรา ไรซอกโทเนีย (Rhizoctoniasp.)   แผลคล้ายน้ำร้อนลวกที่ใบต่อมาแห้งเป็นสีน้ำตาลติดกันด้วยเส้นใยและหลุดร่วงในที่สุด เชื้อจะตกค้างอยู่ในดินตามเศษซากพืช เมื่อมีความชื้นก็จะเข้าทำลายตั้งแต่ระยะที่เป็นใบอ่อน   ผลิตภัณฑ์แนะนำ ฟราวไซด์  อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร โคปิน่า 85 ดับบลิวพี ในอัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ไอโรเน่ ดับบลิวจี ในอัตรา 10-20 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เอราโปรมูเร่ อัตรา 15 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร โรคพืชทุเรียน โรครากเน่า โคนเน่า โรคราสีชมพู โรคจุดสนิมสาหร่าย โรคใบจุด หรือโรคแอนแทรคโนส โรคใบติด หรือใบไหม้ โรคราแป้ง

โรคพืชทุเรียน : โรคใบจุด หรือ โรคแอนแทรคโนส

โรคใบจุด หรือ โรคแอนแทรคโนส เกิดจากเชื้อรา คอลเลโตตริคัม Colletotrichum gloeosporioides, Colletotrichum zibethinum   พบอาการที่ใบเป็นวงแผลสีน้ำตาลแดงซ้อนกัน มักเกิดที่ขอบใบและกลางใบกระจายทั่วทั้งต้น เข้าทำลายดอกในระยะดอกบาน ทำให้ดอกเน่าก่อนบาน แห้งและร่วงหล่นไป ในระยะติดผลก็พบระบาดเช่นเดียวกันและแสดงอาการได้ชัดเจนในช่วงหน้าแล้ง พันธุ์ที่อ่อนแอมากคือพันธุ์ชะนี   ผลิตภัณฑ์แนะนำ ฟราวไซด์  อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราสตาร์ 32.5 เอสซี อัตรา 5-10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เรสเปคท์ บูล 72 ดับบลิวพี อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เอราสตาร์ อัตรา 5-10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราคลอราซ 450  อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร…

โรคพืชทุเรียน : โรคจุดสนิมสาหร่าย

โรคจุดสนิมสาหร่าย (Agal Spot) เกิดจากสาหร่ายสีเขียว Cephaleurosvirescense   พบระบาดมากในแหล่งเพาะปลูกที่มีความชื้นสูง ต้นทุเรียนมีพุ่มแน่นทึบ ใบและกิ่งได้รับแสงแดดน้อย สาหร่ายสีเขียวจะเข้าทำลายที่ใบและกิ่ง ที่จะเห็นเป็นจุดแฉกคล้ายดาวสีเขียวปนเทาจนกระทั่งกลายเป็นสีน้ำตาลคล้ายๆสีสนิม การระบาดที่กิ่งจะเห็นเป็นขนสีน้ำตาลแดงขึ้นเป็นหย่อมๆบริเวณด้านบนของกิ่ง ทำให้เปลือกกิ่งแตกและแห้งตายในที่สุด   ผลิตภัณฑ์แนะนำ พ่นทางใบด้วย โคปิน่า85 ดับบลิวพี อัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ไอโรเน่ ดับบลิวจี อัตรา 10-20 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พีเรสเปคท์ บูล 72 ดับบลิวพี อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นบริเวณใบและกิ่งที่พบการเกิดโรค สำหรับการทากิ่งและลำต้นภายหลังตัดแต่งกิ่งใช้ โคปิน่า 85 ดับบลิวพี อัตรา40กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร ไอโรเน่ ดับบลิวจี อัตรา 10-20 กรัมต่อน้ำ 1ลิตร ทาให้ทั่วบริเวณกิ่งและลำต้นที่เป็นโรค โรคพืชทุเรียน…

โรคพืชทุเรียน : โรคราสีชมพู

โรคราสีชมพู (Pink Disease) เกิดจากเชื้อรา คอร์ทีเซียม Corticiumsalmonicolor   มักพบในแปลงทุเรียนที่มีความชื้นสูงขาดการดูแลรักษาและการตัดแต่งกิ่ง ทำให้เกิดกิ่งซ้อนกันหนาแน่น โดยเริ่มแรกจะพบเชื้อราสีขาวขึ้นปกคลุมบริเวณกิ่งที่มีใบเหลืองร่วง ต่อสร้างส่วนขยายพันธุ์กลายเป็นสีชมพู ทำให้กิ่งแห้ง   การป้องกันกำจัดโรคราสีชมพู ควรมีการตัดแต่งอย่างเหมาะสมภายหลังเก็บเกี่ยว เพื่อช่วยให้ทรงพุ่มโปร่ง ลดความชื้นที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรค หากเกิดโรคอย่างรุนแรงคืออาการกิ่งแห้งและใบเหลืองร่วงควรตัดกิ่งเผาทำลาย แล้วทารอยแผลตัดด้วย   ผลิตภัณฑ์แนะนำ ฟราวไซด์ ไอโรเน่ ดับบลิวจี โคปิน่า 85 ดับบลิวพี การใช้สารเคมีเกษตรควรใช้วิธีการทากิ่งและพ่นตามกิ่งบริเวณที่เกิดโรคในระยะเริ่มแรกก่อนจะกลายเป็นสีชมพูอย่างสม่ำเสมอ   ผลิตภัณฑ์แนะนำ ฟราวไซด์ อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 1 ลิตร ไอโรเน่ ดับบลิวจี อัตรา 20 กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร โคปิน่า 85 ดับบลิวพี อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร พ่นกิ่งบริเวณที่เกิดโรค ฟราวไซด์ อัตรา 10…

โรคพืชทุเรียน : โรครากเน่า โคนเน่า

โรครากเน่า โคนเน่า เกิดจากเชื้อรา ไฟทอฟธอรา Phytophthora palmivora   เชื้อชนิดนี้จะพักตัวอยู่ในดินในรูปของคลาไมโดสปอร์(Chlamydospores) พักตัวอยู่ในดินได้นานเป็นปีๆ เมื่อสภาวะเหมาะสมหรือเมื่อมีความชื้นมีน้ำก็จะงอกออกมาเป็นเส้นใย สร้างส่วนขยายพันธุ์ที่เรียกว่าสปอร์แรงเจี่ยม(sporangium)ที่มีสปอร์ที่มีหางอยู่ภายในที่เรียกว่าซูโอสปอร์(Zoospores) เมื่อแตกออกมาก็จะเคลื่อนที่ไปตามน้ำเข้าทำลายระบบรากของทุเรียน ซึ่งอาจจะแพร่กระจายติดไปกับดินปลูกและกิ่งพันธุ์ได้ เชื้อชนิดนี้สามารถเข้าทำลายระบบราก ลำต้น กิ่ง ใบและผลทุเรียนได้ โดยเฉพาะเมื่อเริ่มติดผลอ่อนจนกระทั่งผลแก่ โดยติดเชื้อจากความชื้นจากการไหล ชะล้างและแรงกระแทกจากน้ำฝน   ผลิตภัณฑ์แนะนำ วิธีการทาแผลที่เป็นโรค ถากหรือขูดแผลที่เน่าออกให้หมด และขูดเปลือกเนื้อไม้รอบๆแผลซึ่งเป็นเนื้อไม้ดีออกกว้างประมาณ 3 นิ้ว แล้วใช้ เรนแมน อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 1 ลิตร ทาตามบริเวณรอยถาก แล้วพ่นทางใบด้วย เรนแมน อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นให้ทั่วใบและลำต้น เดือนละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 3 ครั้ง เอราฟอสทิล อัตรา 150 กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร…

การบำรุงดูแลทุเรียน : บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล

บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล ใช้บ่มผลทุเรียนที่มีอายุการเก็บเกี่ยว 100-110 วัน   ผลิตภัณฑ์แนะนำ อีทีฟอน 48 เอสแอล อัตรา 8-12 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นไปบนผลทุเรียนให้ทั่วแล้วนำไปบ่มในตู้บ่มทุเรียน ไซโฟเฟอร์ท 6-10-32 อัตรา 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร การบำรุงดูแลทุเรียน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว แตกใบอ่อน ระยะใบเพสลาด ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ระยะเหยียดตีนหนู บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม การบำรุงผลอ่อนทุเรียน การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล