การบำรุงสับปะรด : ระยะดอกแดง

ระยะดอกแดง  ผลิตภัณฑ์แนะนำ ไซโฟแคล  อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด อัลก้า อัตรา 30 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด การบำรุงดูแลสับปะรด ชุบหน่อพันธุ์สับปะรดก่อนปลูก ระยะหลังปลูกประมาณ 1-2 เดือน เสริมสร้างราก ระยะหลังปลูก 4-6 เดือน ระยะก่อนบังคับผล 1-2 เดือน หยอดยอดสับปะรดเพื่อการสร้างตาดอก และเร่งสร้างเนื้อ ขยายผล ระยะดอกแดง ระยะดอกม่วงโรย ระยะหลังบังคับ 3 เดือน เพื่อเสริมสร้างคุณภาพผล ระยะเพิ่มคุณภาพก่อนเก็บเกี่ยว

การบำรุงสับปะรด : หยอดยอดสับปะรดเพื่อการสร้างตาดอก และเร่งสร้างเนื้อ ขยายผล

หยอดยอดสับปะรดเพื่อการสร้างตาดอก และเร่งสร้างเนื้อ ขยายผล ผลิตภัณฑ์แนะนำ อีทีฟอน 48 เอสแอล อัตรา 8 ซีซี รายละเอียด ผสมปุ๋ยยูเรีย 46-0-0 อัตรา 300 กรัม ด้วยปริมาณน้ำ 600 ลิตรต่อไร่ หยอดยอดหรือพ่นลงไปที่ยอด ต้นละ 80 ซีซี หยอดหรือพ่น 2 ครั้ง ครั้งแรก เมื่อสับปะรดอายุได้ประมาณ 9-12 เดือน หรือต้นสับปะรดมีน้ำหนัก 2.5-3 กิโลกรัม ครั้งที่ 2 ห่างจากครั้งแรก 7 วัน ควรหยอดในช่วงเช้าตรู่ หรือ ช่วงเย็นถึงค่ำ เพื่ออุณหภูมิขณะหยอดไม่สูงมากนัก การบำรุงดูแลสับปะรด ชุบหน่อพันธุ์สับปะรดก่อนปลูก ระยะหลังปลูกประมาณ 1-2 เดือน เสริมสร้างราก ระยะหลังปลูก 4-6 เดือน ระยะก่อนบังคับผล 1-2 เดือน หยอดยอดสับปะรดเพื่อการสร้างตาดอก…

การบำรุงสับปะรด : ระยะก่อนบังคับผล 1-2 เดือน

ระยะก่อนบังคับผล 1-2 เดือน ผลิตภัณฑ์แนะนำ ไซโฟแคล  อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด ไซโฟเฟอร์ท 9-48-14 อัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร การบำรุงดูแลสับปะรด ชุบหน่อพันธุ์สับปะรดก่อนปลูก ระยะหลังปลูกประมาณ 1-2 เดือน เสริมสร้างราก ระยะหลังปลูก 4-6 เดือน ระยะก่อนบังคับผล 1-2 เดือน หยอดยอดสับปะรดเพื่อการสร้างตาดอก และเร่งสร้างเนื้อ ขยายผล ระยะดอกแดง ระยะดอกม่วงโรย ระยะหลังบังคับ 3 เดือน เพื่อเสริมสร้างคุณภาพผล ระยะเพิ่มคุณภาพก่อนเก็บเกี่ยว

การบำรุงสับปะรด : ระยะหลังปลูก 4-6 เดือน

รากระยะหลังปลูก 4-6 เดือน ผลิตภัณฑ์แนะนำ พ่นทางใบ ไซโฟเฟอร์ท 10-30-30 อัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด การบำรุงดูแลสับปะรด ชุบหน่อพันธุ์สับปะรดก่อนปลูก ระยะหลังปลูกประมาณ 1-2 เดือน เสริมสร้างราก ระยะหลังปลูก 4-6 เดือน ระยะก่อนบังคับผล 1-2 เดือน หยอดยอดสับปะรดเพื่อการสร้างตาดอก และเร่งสร้างเนื้อ ขยายผล ระยะดอกแดง ระยะดอกม่วงโรย ระยะหลังบังคับ 3 เดือน เพื่อเสริมสร้างคุณภาพผล ระยะเพิ่มคุณภาพก่อนเก็บเกี่ยว

การบำรุงสับปะรด : ระยะหลังปลูกประมาณ 1-2 เดือน เสริมสร้างราก

ระยะหลังปลูกประมาณ 1-2 เดือน เสริมสร้างราก ผลิตภัณฑ์แนะนำ หว่านใส่ทางดิน บริเวณโคนต้น ท็อป-เอ็น  อัตรา 10 กรัมต่อต้น รายละเอียด พ่นทางใบ ไซโฟเฟอร์ท 30-12-8 อัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ซีเนอกอน 2000 อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด การกำจัดวัชพืชสับปะรด คุมวัชพืชภายหลังปลูกสับปะรด กำจัดหญ้าใบแคบระบาดในแปลงสับปะรด

การบำรุงสับปะรด : ชุบหน่อพันธุ์สับปะรดก่อนปลูก

ชุบหน่อพันธุ์สับปะรดก่อนปลูกกำจัดเพลี้ยแป้ง ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราท็อกซ์ อัตรา 16 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด เอราท็อกซ์ 24 เอสซี อัตรา 16 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด เอรามอล 83  อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20ลิตร รายละเอียด ชุบได้ประมาณ 1,000 หน่อ จุ่มนานประมาณ 3 นาที การบำรุงดูแลสับปะรด ชุบหน่อพันธุ์สับปะรดก่อนปลูก ระยะหลังปลูกประมาณ 1-2 เดือน เสริมสร้างราก ระยะหลังปลูก 4-6 เดือน ระยะก่อนบังคับผล 1-2 เดือน หยอดยอดสับปะรดเพื่อการสร้างตาดอก และเร่งสร้างเนื้อ ขยายผล ระยะดอกแดง ระยะดอกม่วงโรย ระยะหลังบังคับ 3 เดือน เพื่อเสริมสร้างคุณภาพผล ระยะเพิ่มคุณภาพก่อนเก็บเกี่ยว

โรคศัตรูข้าว : โรคขอบใบแห้ง

โรคขอบใบแห้ง ระบาดได้ทุกระยะของการเจริญเติบโตของข้าว พบอาการเป็นขอบใบแห้ง ทำให้ต้นข้าวเหี่ยวเฉาและตายไปในที่สุด บางครั้งเรียกอาการของโรคชนิดนี้ว่า “ครีเสก” ป้องกันกำจัดด้วย ไอโรเน่ ดับบลิวจี  ใช้ในอัตรา 10-15 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด เอราซูก้า อัตรา 30 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด โรคศัตรูข้าว โรคกาบใบแห้ง โรคเมล็ดด่าง โรคใบขีดสีน้ำตาล โรคใบจุดสีน้ำตาล โรคใบไหม้ โรคถอดฝักดาบ โรคขอบใบแห้ง

โรคศัตรูข้าว : โรคถอดฝักดาบ

โรคถอดฝักดาบ พบในระยะกล้าหรือก่อนที่ข้าวจะแตกกอทำให้ต้นข้าวผอมมีสีเขียวอ่อนซีดมักย่างปล้องรากจะเน่าช้ำเวลาถอนมักจะขาดบริเวณโคนต้น ป้องกันกำจัดด้วย เอราคลอราซ 450 ใช้ในอัตรา 2-3 ซีซีคลุกเมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม รายละเอียด โรคศัตรูข้าว โรคกาบใบแห้ง โรคเมล็ดด่าง โรคใบขีดสีน้ำตาล โรคใบจุดสีน้ำตาล โรคใบไหม้ โรคถอดฝักดาบ โรคขอบใบแห้ง

โรคศัตรูข้าว : โรคใบไหม้

โรคใบไหม้ เกิดได้ทุกระยะของการเจริญเติบโตของข้าวโดยเฉพาะระยะกล้าทำให้กล้าแห้งฟุบตายอาการคล้ายถูกไฟไหม้ระยะแตกกอใบเป็นแผลช้ำสีน้ำตาลและมักหลุดออกจากกาบใบระยะคอรวงเมล็ดลีบคอรวงเปราะหักง่าย ป้องกันกำจัดด้วย คาร์ดาซิน 50 ดับบลิวพี ใช้ในอัตรา 10-20 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด เอราคลอราซ 450 ใช้ในอัตรา 30 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด คาร์ดาซิน 50 เอฟ อัตรา 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด โรคศัตรูข้าว โรคกาบใบแห้ง โรคเมล็ดด่าง โรคใบขีดสีน้ำตาล โรคใบจุดสีน้ำตาล โรคใบไหม้ โรคถอดฝักดาบ โรคขอบใบแห้ง

โรคศัตรูข้าว : โรคใบขีดสีน้ำตาล โรคใบจุดสีน้ำตาล

โรคใบขีดสีน้ำตาล พบแผลที่ใบมีสีน้ำตาลเป็นขีดๆขนานไปกับเส้นใบข้าวมักพบในระยะข้าวแตกกอจะมีมากตามใบล่างและปลายใบ โรคใบจุดสีน้ำตาล  ลักษณะแผลเป็นจุดสีน้ำตาลเป็นรอยเปื้อนสีสนิมกระจายอยู่ทั่วบริเวณใบข้าว ป้องกันกำจัดด้วย คาร์ดาซิน 50 WP/SC  ใช้ในอัตรา 10-20 กรัม/ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด โซซิม 50 ใช้ในอัตรา 12-20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด โรคศัตรูข้าว โรคกาบใบแห้ง โรคเมล็ดด่าง โรคใบขีดสีน้ำตาล โรคใบจุดสีน้ำตาล โรคใบไหม้ โรคถอดฝักดาบ โรคขอบใบแห้ง