การกำจัดวัชพืชในนาข้าว : การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าในระยะ 7-14 วันหลังหว่านข้าว

การบำรุงดูแลข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้าในระยะ 7-14 วันหลังหว่านข้าว ในช่วงนี้มีสารกำจัดวัชพืชหลายชนิดให้เลือกใช้ขึ้นอยู่กับการระบาดของวัชพืชแต่ละชนิด ฆ่าหญ้าหลากหลายชนิดทั้งวัชพืชใบใบกว้างและกก เอราโพรพาคลอร์ 70 ใช้ในอัตรา 200 ซีซีต่อไร่ พ่นหลังหว่านข้าวงอกแล้ว 7-9 วัน ขณะพ่นต้องไม่มีน้ำอยู่ในนา ภายหลังพ่นแล้ว 2-3 วันจึงไขน้ำเข้านา ระวังอย่าให้น้ำท่วมยอดข้าว ฆ่าหญ้าข้าวนก เอราโพรฟิต 500 ใช้ในอัตรา 320-360 ซีซีต่อไร่ ให้พ่นหลังหว่านข้าวงอกแล้ว7-10 วันก่อนพ่นให้ระบายน้ำออกจากแปลงนาและภายหลังพ่นแล้วให้ทดน้ำเข้านาภายใน 2-3 วันระวังอย่าให้น้ำท่วมยอดข้าว เอราคลอแรค 25 เอสซี พ่นหลังหว่านข้าวแล้ว 7-12 วัน ใช้ในอัตรา 90 ซีซีต่อไร่ ควรพ่นในขณะที่ดินกำลังหมาดๆและภายหลังพ่นให้ไขน้ำเข้านาภายใน 1-3 วัน ฆ่าหญ้าดอกขาว เอราไรซ์ พ่นหลังหว่านข้าวแล้ว 7-10 วัน ใช้ในอัตรา 30-40 ซีซีต่อไร่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกำจัดวัชพืชได้อย่างกว้างขวางมากยิ่งขึ้น ควรผสมเอราโพรพาคลอร์ 70ในอัตรา 200 ซีซีต่อไร่ ภายหลังพ่น…

การกำจัดวัชพืชในนาข้าว : การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าในระยะ 7-8 วันหลังหว่านข้าว

การบำรุงดูแลข้าว การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าในระยะ 7-8 วันหลังหว่านข้าว เอราเอสเทอร์พลัส หว่านให้ทั่วพื้นนาหลังจากหว่านข้าวงอกแล้ว 7-8 วัน ใช้ในอัตรา 3.2 กิโลกรัมต่อไร่ ก่อนหว่านให้ไขน้ำเข้านาให้มีระดับ 1-2 นิ้วภายหลังหว่านให้กักน้ำในกระทงนาอย่างน้อย 4-6 วันอย่าให้ระดับน้ำท่วมยอดข้าว สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเพื่อน การบำรุงดูแลข้าว การเตรียมดิน และการใช้ยาคุมหญ้าก่อนหว่านข้าว การหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว และการใช้ยาคุมหญ้าหลังหว่านข้าว การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าในระยะ 7-8 วันหลังหว่านข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้าในระยะ 7-14 วันหลังหว่านข้าว สรุปการใช้ยาฆ่าหญ้าในระยะ 15-30 วันหลังหว่านข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้ากำจัดวัชพืชบริเวณหัวคันนา การใช้ยาฆ่าหญ้าลูบข้าวดีด การใช้ยาฆ่าหญ้าลูบดอกหญ้า การใช้สารกำจัดวัชพืชในนาหว่านข้าวแห้ง

การกำจัดวัชพืชในนาข้าว : การหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว และการใช้ยาคุมหญ้าหลังหว่านข้าว

การบำรุงดูแลข้าว การหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว นำเมล็ดพันธุ์ข้าวที่เตรียมไว้ไปใส่ในตะกร้าไม้ไผ่สานหรือกระสอบป่านหรือถุงผ้าไปแช่ในน้ำสะอาดนานประมาณ 12-24 ชั่วโมง จากนั้นนำเมล็ดพันธุ์ที่แช่น้ำแล้วขึ้นมาวางบนพื้นที่ที่ไม่มีน้ำท่วมขังและมีอากาศถ่ายเทได้ดี นำกระสอบป่านชุบน้ำจนชุ่มสมหุ้มเมล็ดพันธุ์โดยรอบรดน้ำทุกเช้าและเย็นเพื่อรักษาความชุ่มชื้นหุ้มเมล็ดพันธุ์ไว้นานประมาณ 30-48 ชั่วโมงพร้อมที่จะนำไปหว่านโดยใช้อัตรา 10-20 กิโลกรัมต่อไร่อย่าใช้เมล็ดพันธุ์มากเกินไปนอกจากจะสิ้นเปลืองเมล็ดพันธุ์แล้วยังทำให้ข้าวงอกขึ้นหนาแน่นเป็นสาเหตุให้โรคและแมลงศัตรูข้าวมีการระบาดอย่างรุนแรงในภายหลัง การใช้ยาคุมหญ้าหลังหว่านข้าว เอราบิวทาคลอร์เซฟเฟนเนอร์ คุมวัชพืชได้กว้างขวางทั้งวัชพืชใบแคบวัชพืชใบกว้างและกก พ่นให้ทั่วพื้นที่นาหลังหว่านข้าวงอกแล้ว 1-4 วันในอัตรา 200 ซีซีต่อไร่ เมื่อข้าวตั้งตัวได้แล้วจึงค่อยไขน้ำเข้านาเพื่อช่วยเร่งการเจริญเติบโตของข้าว ระวังอย่าให้น้ำท่วมยอดข้าว ฤทธิ์ของยาจะไปยับยั้งการงอกของวัชพืช สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเพื่อน การบำรุงดูแลข้าว การเตรียมดิน และการใช้ยาคุมหญ้าก่อนหว่านข้าว การหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว และการใช้ยาคุมหญ้าหลังหว่านข้าว การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าในระยะ 7-8 วันหลังหว่านข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้าในระยะ 7-14 วันหลังหว่านข้าว สรุปการใช้ยาฆ่าหญ้าในระยะ 15-30 วันหลังหว่านข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้ากำจัดวัชพืชบริเวณหัวคันนา การใช้ยาฆ่าหญ้าลูบข้าวดีด การใช้ยาฆ่าหญ้าลูบดอกหญ้า การใช้สารกำจัดวัชพืชในนาหว่านข้าวแห้ง

การบำรุงดูแลข้าว : การเตรียมดิน และการใช้ยาคุมหญ้าก่อนหว่านข้าว

การบำรุงดูแลข้าว การเตรียมดิน กระตุ้นให้ข้าวเชื้องอกแล้วไถกลบขังน้ำหมักไว้ประมาณ 2 สัปดาห์ ไถคราดทำเทือกเพื่อปรับระดับดินนาให้ราบเรียบสม่ำเสมอป้องกันน้ำท่วมขังเป็นหย่อมๆที่เป็นสาเหตุทำให้เมล็ดข้าวเน่า แหวกร่องเป็นระยะๆเพื่อใช้เป็นทางระบายน้ำและเป็นทางเดินเวลาเข้าไปทำงาน ต้องเตรียมดินให้ดีเพื่อลดปัญหาวัชพืชที่ตกค้างและทำให้เมล็ดข้าวงอกอย่างสม่ำเสมอ สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเพื่อน

แมลงศัตรูพืชทุเรียน : หนอนด้วงหนวดยาวเจาะลำต้น

แมลงศัตรูพืชทุเรียน พ่นให้ทั่วต้นเมื่อทุเรียนเริ่มแตกใบอ่อน หนอนด้วงหนวดยาวเจาะลำต้น (Black raised spot longhorn : Batocera rufomaculata) จะวางไข่ไว้บริเวณเปลือก เมื่อฟักออกมาเป็นตัวหนอนก็จะเจาะเข้าไปทำลายในกิ่งและลำต้น ทำให้กิ่งแห้งตาย ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราโพรทริน อัตรา 40 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราท็อกซ์ อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20 เอราทริน 2.5 อีซี อัตรา 40 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราคอน 70  อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นให้โชกบริเวณลำต้นตั้งแต่โคนต้นจนกระทั่งถึงยอดรวมทั้งกิ่งขนาดใหญ่ แมลงศัตรูพืชทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้/เพลี้ยจั๊กจั่นฝอย เพลี้ยไฟ ไรแดงแอฟริกัน หนอนเจาะเมล็ด/หนอนเจาะผลทุเรียน เพลี้ยแป้ง หนอนด้วงหนวดยาวเจาะลำต้น

แมลงศัตรูพืชทุเรียน : เพลี้ยแป้ง

แมลงศัตรูพืชทุเรียน เพลี้ยแป้ง (Mealybug: Planococcus minor) ปกติจะมีมดพาเพลี้ยแป้งมา ดังนั้นถ้าเห็นมดก็ควรใช้ผ้าชุบ เอราท็อกซ์ พันกิ่งก็สามารถช่วยลดการระบาดได้ในระดับหนึ่ง ส่วนใหญ่มักระบาดอยู่ตามซอกร่องหนามทุเรียน มูลของเพลี้ยแป้งมักทำให้เกิดโรคราดำตามมา ทำให้คุณภาพผลตกต่ำลง ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราคอน 70 อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20 เอราท็อกซ์ อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20 เอรามอล 83 อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 เอราเมท โกลด์  อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นบริเวณผลที่พบการระบาด แมลงศัตรูพืชทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้/เพลี้ยจั๊กจั่นฝอย เพลี้ยไฟ ไรแดงแอฟริกัน หนอนเจาะเมล็ด/หนอนเจาะผลทุเรียน เพลี้ยแป้ง หนอนด้วงหนวดยาวเจาะลำต้น

แมลงศัตรูพืชทุเรียน : หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน และหนอนเจาะผลทุเรียน

แมลงศัตรูพืชทุเรียน พ่นให้ทั่วต้นเมื่อทุเรียนเริ่มแตกใบอ่อน หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน (Durian seed borer: Mudaria luteileprosa) ชาวสวนเรียกว่า “หนอนใต้” ผีเสื้อกลางคืนจะวางไข่ไว้ที่เปลือกทุเรียน เมื่อหนอนฝักเป็นตัวก็จะไชเข้าไปกัดกินในเมล็ดทุเรียนเมื่อผลแก่ใกล้เก็บเกี่ยวหนอนก็จะออกจากผลทิ้งตัวเข้าดักแด้ในดิน หนอนเจาะผลทุเรียน (Durian borer: Conogethes punctiferalis) พบระบาดตั้งแต่ผลทุเรียนอายุประมาณ 2 เดือนขึ้นไป จะเจาะทำลายผลบริเวณผิวเปลือกหรือเจาะกินเนื้อในผลบริเวณใกล้กับขั้วผล มักจะพบระบาดมากกับทุเรียนที่มีผลติดซ้อนกัน ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอรานูฟอส อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราโพรทริน อัตรา 60 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราทริน 2.5 อีซี อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอรามิลิน อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นบริเวณผลตั้งแต่ผลอ่อนให้ทั่วต้น ควรพ่นซ้ำทุกๆ 7-10 วัน จนกว่าการระบาดจะลดลง เอราด๊อกซาขาบ…

แมลงศัตรูพืชทุเรียน : ไรแดงแอฟริกัน

แมลงศัตรูพืชทุเรียน ไรแดงแอฟริกัน (African red mite: Eutetranychus africanus) จะดูดน้ำเลี้ยงด้านบนของใบ โดยเฉพาะบริเวณเส้นกลางใบ ทำให้ใบซีดขาวและร่วงหล่นในที่สุด ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราเม็คติน อัตรา 15 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราซัล อัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ไมทาไซด์ อัตรา20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราไมท์ อัตรา 20 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ทานอส  อัตรา 15 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เอราเฮก อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เอราติน 55  อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20…

แมลงศัตรูพืชทุเรียน : เพลี้ยไฟ

แมลงศัตรูพืชทุเรียน เพลี้ยไฟ (Thrips: Scirtothrips dorsalis) จะดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ่อน ทำให้ใบหงิกบิดเบี้ยว ใบแห้งและร่วงหล่นในที่สุด ผลิตภัณฑ์แนะนำ อีมาไซด์ 5% ดับบลิวจี กลุ่ม 6 อัตรา 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2 ครั้ง ทุก 7 วัน เอราคอน 70 ดับบลิวจี กลุ่ม 4A อัตรา 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2 ครั้ง ทุก 7 วัน เอราทริป โกลด์ กลุ่ม 2B อัตรา 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2…

แมลงศัตรูพืชทุเรียน : เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน

แมลงศัตรูพืชทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน (Durian psyllid: Allocaridara malayensis) เข้าทำลายในช่วงใบอ่อน ดูดกินน้ำเลี้ยงที่ใบ ทำให้เป็นจุดเหลืองๆ ทำให้ใบหงิกงอ แห้งและร่วงในที่สุด   เพลี้ยจั๊กจั่นฝอยทุเรียน (Durian leafhopper: Amarasca durianae) เข้าทำลายในช่วงใบอ่อน ทำให้ใบไหม้แห้งและร่วงหล่นไปในที่สุด ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราทริน 2.5 อีซี อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราคอน 70 อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เอราทริป 5 เอสซี อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราท็อกซ์ อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นให้ทั่วต้นเมื่อทุเรียนเริ่มแตกใบอ่อน แมลงศัตรูพืชทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้/เพลี้ยจั๊กจั่นฝอย เพลี้ยไฟ ไรแดงแอฟริกัน หนอนเจาะเมล็ด/หนอนเจาะผลทุเรียน…