โรคศัตรูแตงโม

โรคศัตรูแตงโม โรคเถาเหี่ยว ที่เกิดจากเชื้อฟิวซาเรียม (เหี่ยวเหลือง) โรคนี้จะระบาดมากเมื่อมีการปลูกแตงโมในพื้นที่ซ้ำที่เดิม ในสภาพที่ดินมีความเป็นกรดจัด และเกิดจากการใช้ธาตุไนโตรเจนในปริมาณที่สูงกว่าปกติ  มักจะพบระบาดในช่วงที่แตงโมออกดอก   ผลิตภัณฑ์แนะนำ ดังนั้นในขณะเตรียมดินควรใส่ปูนขาวปรับสภาพดิน 500 กิโลกรัมต่อไร่ ควรคลุกเมล็ดก่อนปลูกด้วย แอ็คโซแมนโคเซบ 80 อัตราและวิธีใช้ 15 กรัมต่อเมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม พ่นทางใบก่อนออกดอกด้วย ฟราวไซด์ อัตราและวิธีใช้ 15 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร โรคเถาเหี่ยวที่เกิดจาก เชื้อแบคทีเรีย (เหี่ยวเขียว) โดยมีเต่าแตงเป็นแมลงพาหะ เชื้อจะถูกถ่ายทอดเข้าสู่แตงโม เมื่อเต่าแตงมากัดกินใบ เชื้อจะเข้าไปอุดท่อน้ำเลี้ยงในต้นแตงโม ดังนั้นการกำจัดเต่าแตงก็สามารถป้องกันการระบาดได้เป็นอย่างดี   ผลิตภัณฑ์แนะนำ หากพบการระบาดให้พ่นทางใบด้วย โคปิน่า 85 ดับบลิวพี อัตราและวิธีใช้ 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ไอโรเน่ ดับบลิวจี อัตราและวิธีใช้ 10 – 15…

แมลงศัตรูแตงโม

แมลงศัตรูแตงโม เพลี้ยไฟ  หรือ โรคยอดตั้ง  หรือโรคไอ้โต้ง ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราคอน 70 อัตราและวิธีใช้ 5 – 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร เอราทริป โกลด์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร เอราโพรทริน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 30 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เอรานูฟอส อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เต่าแตง ผลิตภัณฑ์แนะนำ คาร์บาริล 85 อัตราและวิธีใช้ 20 – 30 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร เอราท๊อกซ์ อัตราและวิธีใช้…

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตแตงโม

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตแตงโม แตงโมชอบดินที่มีสภาพร่วนซุย มีการระบายน้ำที่ดี การเตรียมดินก่อนปลูกควรมีการใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักรองพื้นประมาณ 1,600 กิโลกรัมต่อไร่เพื่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน และใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักอีกครั้งในช่วงของการเจริญเติบโตประมาณ 800 กิโลกรัมต่อไร่ การบำรุงดูแล ระยะย้ายกล้า ปลูกลงแปลง กระตุ้นการแตกราก ปรับสภาพดิน ควรรองก้นหลุมด้วย ผลิตภัณฑ์แนะนำ ท๊อปเอ็น (Top N) ไมโครแคล ท๊อปเอ็น (Top N) นวัตกรรมใหม่ สำหรับการบำรุงพืช ช่วยปรับปรุงดิน ประโยชน์ กระตุ้นการเจริญเติบโตของราก  เร่งการเจริญเติบโตของกล้าแตงโม ให้ต้นเขียว โตไว  เพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตให้กับพืช อัตราและวิธีใช้ อัตรา  50 กก. ต่อไร่   ไมโครแคล ธาตุอาหารชนิดเม็ดความเข้มข้นสูง ประโยชน์ ธาตุอาหารรอง CaO MgO S ช่วยเพิ่มผลผลิตทั้งปริมาณและคุณภาพ ธาตุอาหารเสริม Zn Cu Fe Mn B Mo ช่วยให้พืชแข็งแรงทนทานต่อโรคพืชที่อยู่ในดิน อัตราและวิธีใช้…

โรคพืชข้าวโพด : โรคใบไหม้แผลใหญ่

โรคใบไหม้แผลใหญ่ (Northern Corn Leaf Blight) สาเหตุจากเชื้อรา Bipolaris turcica ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราสตาร์ 32.5 เอสซี  อัตรา 15 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นทุก 7 วัน จำนวน 2 – 4 ครั้ง รายละเอียด โรคพืชข้าวโพด โรคใบไหม้แผลใหญ่ โรคราน้ำค้าง

แมลงศัตรูพืชข้าวโพด : หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด

หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด เข้าทำลายกัดกินยอด ใบ ลำต้น  ผลิตภัณฑ์แนะนำ รอบที่ 1 อายุข้าวโพด 5 -7 วัน (ระยะวางไข่ของผีเสื้อ) เอราโพรทริน อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร รอบที่ 2 อายุข้าวโพด 10 -14 วัน เอราโพรทริน อัตรา 30 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด รอบที่ 3 อายุข้าวโพด 15 -21 วัน  ให้เปลี่ยนกลุ่มสารในการฉีดพ่น เพื่อป้องกันการดื้อยา เอรานูฟอส อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด เอรามิลิน อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20…

ข้าวโพด

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตข้าวโพด หลังปลูกข้าวโพด 0 – 4 วัน หลังปลูกข้าวโพด 0 – 4 วัน พ่นคลุมด้วย ผลิตภัณฑ์แนะนำ   ชุดช้างศึกคุม อัตราใช้น้อย ปลอดภัยต่อข้าวโพด อ้อย และพืชข้างเคียง ใช้คุมวัชพืชก่อนวัชพืชงอก เอราซีน 50 เอสซี อะโทลล์ เฟล็กซ์ อัตราและวิธีใช้ อะโทลล์ เฟล็กซ์  อัตรา 15 ซีซี ผสม เอราซีน 50 เอสซี อัตรา 250 ซีซี  ผสมน้ำ 60-80 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 ไร่   หรือ พ่นคุมวัชพืชในข้าวโพด บนพื้นที่ 6 ไร่ อะโทลล์ เฟล็กซ์  อัตรา 100 ซีซี…

กล้วยไม้ : โรคแมลงศัตรูพืช

โรคแมลงศัตรูพืช อัตราและวิธีใช้ เรนแมน (สารไชยาโซฟามิด 40% เอสซี) ในอัตรา 5 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ควรพ่นซ้ำอย่างน้อย 2 ครั้งห่างกัน 7-10 วัน ปัญหาแมลงศัตรูกล้วยไม้ที่ยุ่งยากต่อการกำจัด เพลี้ยไฟศัตรูวายร้ายที่ต้านยา ปัญหาเพลี้ยไฟ เป็นปัญหาหลักที่จัดการได้ยาก กล้วยไม้ส่งออกไปยังสหภาพยุโรปตรวจพบสารตกค้างประเภทสารกำจัดเพลี้ยไฟในกล้วยไม้เป็นหลักเพลี้ยไฟชาวสวนกล้วยไม้รู้จักกันในชื่อว่า “ตัวกินสี” เป็นแมลงปากดูดที่มีขนาดเล็กมากที่หลบซ่อนอยู่ตามซอกกลีบดอก จนยากที่จะพบเห็นตัวได้ ผลิตภัณฑ์แนะนำ ผลิตภัณฑ์บริษัท เอราวัณเคมีเกษตรที่สามารถกำจัดเพลี้ยไฟได้ส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติออกฤทธิ์แบบดูดซึมเป็นหลักหรือซึมผ่านใต้พื้นผิวใบสารในกลุ่มนีโอนิโคตินอยด์ ได้แก่ เอราคอน 70 เอราท็อกซ์ เอราทริป 5 เอสซี เอราเมท โกลด์ เอราทริน 2.5 อัตราและวิธีใช้ เอราคอน 70 (สารอิมิดาคลอพริด 70% ดับบลิวจี) ให้ใช้ในอัตรา 5 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร และ เอราท็อกซ์ (สารไทอะมีโทแซม 25%…

กล้วยไม้ : โรคพืช

โรคพืช ปัญหาโรคศัตรูกล้วยไม้ที่มีสาเหตุมาจากเชื้อรา โรคใบไหม้ โรคเกสรดำ กลีบดอกไหม้ โรคใบไหม้ในกล้วยไม้สกุลสปาโทกลอสทิส กล้วยไม้ดินใบหมาก กล้วยไม้เอื้องพร้าวและกล้วยไม้สกุลซิมบิเดียม ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราสตาร์ 32.5 เอสซี เรสเปคท์ บูล 72 ดับบลิวพี เอราโปรราซ 49 อัตราและวิธีใช้ เอราสตาร์ 5 เอสซี (สารอะซอกซีสโตรบิน บวกสารไดฟีโนโคนาโซล 12.5%+20% เอสซี) อัตรา10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ผสมกับ เรสเปคท์ บูล 72 ดับบลิวพี อัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือพ่นสลับกับ เอราโปรราซ 49 ในอัตรา 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร โรคเน่าแห้งหรือโรคราเม็ดผักกาดในกล้วยไม้หลายสกุล ทำให้หัวเน่า ลำต้นเน่า รากเน่า ผลิตภัณฑ์แนะนำ…

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตข้าว

การเตรียมดิน กระตุ้นให้ข้าวเชื้องอกแล้วไถกลบขังน้ำหมักไว้ประมาณ 2 สัปดาห์ ไถคราดทำเทือกเพื่อปรับระดับดินนาให้ราบเรียบสม่ำเสมอป้องกันน้ำท่วมขังเป็นหย่อมๆที่เป็นสาเหตุทำให้เมล็ดข้าวเน่า แหวกร่องเป็นระยะๆเพื่อใช้เป็นทางระบายน้ำและเป็นทางเดินเวลาเข้าไปทำงาน ต้องเตรียมดินให้ดีเพื่อลดปัญหาวัชพืชที่ตกค้างและทำให้เมล็ดข้าวงอกอย่างสม่ำเสมอ การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าก่อนหว่านข้าว 4 วัน เอราเอสเทอร์พลัส หว่านให้ทั่วพื้นนาก่อนหว่านข้าวงอก 4 วัน ใช้ในอัตรา 3.2 กิโลกรัมต่อไร่ ปรับพื้นนาให้สม่ำเสมอกักน้ำในกระทงนาให้สูงประมาณ 1-2 นิ้วแล้วจึงหว่านยาให้ทั่วพื้นนาและก่อนหว่านข้าวงอกให้ไขน้ำออกจากแปลงนาให้หมดจากนั้นหลังหว่านข้าวงอกเรียบร้อยแล้วรอข้าวตั้งตัวได้แล้วจึงไขน้ำเข้านาเพื่อช่วยเร่งการเจริญเติบโตให้รักษาระดับน้ำอย่าให้ท่วมยอดข้าว การใช้ยาคุมหญ้าก่อนหว่านข้าว เอราการ์ด คุมหญ้าวัชพืชจำพวกหญ้าได้ดีโดยเฉพาะหญ้าข้าวนก ใช้ขณะลูบเทือกครั้งสุดท้าย โดยใช้วิธีหยดน้ำยาลงไปในเทือก ใช้ในอัตรา 320-400 ซีซีต่อไร่ ให้หยดลงไปในนาที่มีน้ำระดับความลึก 5-10 เซนติเมตรปล่อยให้น้ำยาตกตะกอนอยู่บนผิวดิน 2 วันแล้วค่อยระบายน้ำออกจากนา เป็นการควบคุมเมล็ดหญ้าที่ตกค้างอยู่ในแปลงนา โดยจะดูดซึมเข้าทำลายทางใบเลี้ยงเดี่ยวของวัชพืชจำพวกหญ้าและใบเลี้ยงคู่ของวัชพืชใบกว้างเมื่อเริ่มงอกออกมา จึงใช้เป็นยาคุมหญ้าก่อนวัชพืชงอก การหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว นำเมล็ดพันธุ์ข้าวที่เตรียมไว้ไปใส่ในตะกร้าไม้ไผ่สานหรือกระสอบป่านหรือถุงผ้าไปแช่ในน้ำสะอาดนานประมาณ 12-24 ชั่วโมง จากนั้นนำเมล็ดพันธุ์ที่แช่น้ำแล้วขึ้นมาวางบนพื้นที่ที่ไม่มีน้ำท่วมขังและมีอากาศถ่ายเทได้ดี นำกระสอบป่านชุบน้ำจนชุ่มสมหุ้มเมล็ดพันธุ์โดยรอบรดน้ำทุกเช้าและเย็นเพื่อรักษาความชุ่มชื้นหุ้มเมล็ดพันธุ์ไว้นานประมาณ 30-48 ชั่วโมงพร้อมที่จะนำไปหว่านโดยใช้อัตรา 10-20 กิโลกรัมต่อไร่อย่าใช้เมล็ดพันธุ์มากเกินไปนอกจากจะสิ้นเปลืองเมล็ดพันธุ์แล้วยังทำให้ข้าวงอกขึ้นหนาแน่นเป็นสาเหตุให้โรคและแมลงศัตรูข้าวมีการระบาดอย่างรุนแรงในภายหลัง การใช้ยาคุมหญ้าหลังหว่านข้าว เอราบิวทาคลอร์ คุมวัชพืชได้กว้างขวางทั้งวัชพืชใบแคบวัชพืชใบกว้างและกก พ่นให้ทั่วพื้นที่นาหลังหว่านข้าวงอกแล้ว 1-4 วันในอัตรา 200 ซีซีต่อไร่ เมื่อข้าวตั้งตัวได้แล้วจึงค่อยไขน้ำเข้านาเพื่อช่วยเร่งการเจริญเติบโตของข้าว…

กล้วยไม้

กล้วยไม้งาม ออกดอกสะพรั่ง ด้วยปุ๋ยเกร็ดคุณภาพสูง กล้วยไม้มีความต้องการปุ๋ยทางใบและทางรากเพิ่มขึ้นตามการเจริญเติบโตของกล้วยไม้ และมีความต้องการธาตุอาหารอย่างครบถ้วนทั้งธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรองและธาตุอาหารเสริม การใช้ปุ๋ยเกร็ดพ่นทางใบสำหรับกล้วยไม้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควรพ่นให้กับกล้วยไม้ในช่วงเช้าเพื่อหลีกเลี่ยงช่วงที่มีแสงแดดจัด และในสภาพที่มีความชื้นสัมพัทธ์สูง ไม่ร้อนและแห้งแล้งเกินไป พ่นให้ทั่วบริเวณทั้งราก ลำต้น และใบ จนเปียกโชก น้ำที่ใช้ผสมจะต้องเป็นน้ำที่สะอาด ปราศจากตะกอนดินและมีความเป็นกลางหรือเป็นกรดอ่อนๆ ไม่ควรใช้น้ำที่เป็นด่าง ผลิตภัณฑ์แนะนำ ปุ๋ยเกร็ดไซโฟเฟอร์ท เป็นปุ๋ยเกร็ดปุ๋ยนอกสำหรับใช้พ่นทางใบจากประเทศอิตาลี เหมาะสำหรับใช้ในช่วงที่กล้วยไม้โตช้า ออกดอกช้า ออกดอกน้อยผลผลิตและคุณภาพดอกลดลง ใช้น้อยๆแต่บ่อยครั้ง ได้ผลทันใจ ประหยัดและคุ้มค่ากว่า เนื่องจากกล้วยไม้ได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นอย่างครบถ้วนและเต็มประสิทธิภาพ ประกอบด้วยธาตุอาหารอย่างครบถ้วน ธาตุอาหารหลักได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโพแทสเซี่ยม ธาตุอาหารรอง ได้แก่ แมกนีเซียม ธาตุอาหารเสริม ได้แก่ เหล็ก มังกานีส ทองแดง สังกะสี โบรอน โมลิบดินั่ม 1. สูตรสำหรับใช้เร่งการเจริญเติบโตทางลำต้น เหมาะสำหรับกล้วยไม้เล็ก ลำลูกกล้วยใหม่ หรือกล้วยไม้ที่ทรุดโทรมที่ต้องการตั้งตัวเร็ว ไซโฟเฟอร์ท สูตร 30-15-10 อัตราและวิธีใช้ 25-50 กรัม ต่อน้ำ 20…