การกำจัดแมลงศัตรูมะเขือเทศ

การกำจัดแมลงศัตรูมะเขือเทศ แมลงหวี่ขาว เป็นพาหะของโรคใบหงิกเหลือง ที่เกิดจากเชื้อไวรัส ผลิตภัณฑ์แนะนำ กำจัดด้วย ภายหลังย้ายกล้าปลูกลงแปลงแล้ว พ่นป้องกันกำจัดด้วย เอราท็อกซ์ เอราท็อกซ์ 24 เอสซี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 4-8 กรัม/ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอรามิพริด อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เพื่อกำจัดทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ควรพ่นซ้ำภายใน 7-10 วัน หนอนแมลงวันชอนใบ ผลิตภัณฑ์แนะนำ กำจัดด้วย เอรามอล 83 อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอรามิพริด อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หนอนเจาะผล กำจัดด้วย เอรานูฟอส อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20…

การป้องกันกำจัดโรคศัตรูมะเขือเทศ

การป้องกันกำจัดโรคศัตรูมะเขือเทศ โรคกล้าเน่า โรคเน่าคอดิน พบกล้าเน่าภายหลังย้ายกล้าปลูกลงดิน ต้นหักพับในระดับผิวดิน เชื้อสาเหตุของโรคติดมากับเมล็ดพันธุ์ ดังนั้นก่อนเพาะเมล็ด ให้แช่เมล็ดในน้ำอุ่น 55 องศาเซลเซียส นาน 20 นาที ผลิตภัณฑ์แนะนำ ภายหลังย้ายกล้าปลูกลงแปลงแล้ว พ่นป้องกันกำจัดด้วย เรนแมน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 5 ซีซีต่อน้ำ 20ลิตร โรคโคนต้นเน่า โรคราเมล็ดผักกาด เกิดเป็นเม็ดสีน้ำตาล โดยมีขุยสีขาวปกคลุมอยู่บริเวณโคนต้น ทำให้โคนต้นเน่า ใบเหี่ยว ผลิตภัณฑ์แนะนำ ป้องกันกำจัดด้วย ฟราวไซด์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร โรคใบแห้ง โรคใบไหม้ ทำให้ใบแห้งเหี่ยวตาย ทำให้เกิดแผลสีน้ำตาลบนผล พบอาการผิวผลแตก เน่าและหลุดร่วงในที่สุด ผลิตภัณฑ์แนะนำ ป้องกันกำจัดด้วย เรนแมน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 5 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร แฟนติค เอ็ม อัตราและวิธีใช้…

การกำจัดแมลงศัตรูพริก

การกำจัดแมลงศัตรูพริกที่สำคัญ เพลี้ยไฟ เพลี้ยไฟดูดกินน้ำเลี้ยงตามใบและยอดอ่อน ทำให้ใบและยอดอ่อนหงิกงอ ขอใบมักม้วนงอขึ้น ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราคอน 70 ดับบลิวจี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20ลิตร เอราทริป-โกลด์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 2 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เพลี้ยอ่อน เพลี้ยอ่อน เป็นแมลงพาหะของเชื้อไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคใบด่างในพริก มักระบาดในช่วงอากาศแห้งแล้ง ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอรามิพริด อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ไรขาวพริก ดูดกินน้ำเลี้ยงใบที่ส่วนยอด  ทำให้หงิกงอม้วนใบลง ใบเล็กและหดสั้น ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราซัล 80 ดับบลิวจี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 80 กรัมต่อน้ำ 20ลิตร ไมทาไซด์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20ลิตร เอราไมท์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา…

การป้องกันกำจัดโรคศัตรูพริก

การป้องกันกำจัดโรคศัตรูพริกที่สำคัญ โรคศัตรูพริกที่เกิดจากเชื้อรา โรคกล้าเน่า ทำให้ต้นกล้าแห้งเหี่ยวตาย ผลิตภัณฑ์แนะนำ เรนแมน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 5 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นทันทีภายหลังย้ายกล้าลงปลูกในแปลง โรคแอนแทรคโนส โรคกุ้งแห้งพริก ระบาดมากในช่วงผลสุก แก่จัด ทำให้ผลพริกยุบตัวลง แห้ง และหงิกงอ ผลิตภัณฑ์แนะนำ ฟราวไซด์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราคลอราซ 450 อัตราและวิธีใช้ อัตรา 30 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราสตาร์ 325 อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20ลิตร โรคยอดและดอกเน่า โรคพริกหัวโกร๋น ระบาดมากในช่วงที่มีฝนตกสลับแดดออก ยอดเน่าดำ ใบแห้งร่วงเฉพาะที่ยอด ผลิตภัณฑ์แนะนำ ฟราวไซด์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20ลิตร…

โรคศัตรูแตงโม

โรคศัตรูแตงโม โรคเถาเหี่ยว ที่เกิดจากเชื้อฟิวซาเรียม (เหี่ยวเหลือง) โรคนี้จะระบาดมากเมื่อมีการปลูกแตงโมในพื้นที่ซ้ำที่เดิม ในสภาพที่ดินมีความเป็นกรดจัด และเกิดจากการใช้ธาตุไนโตรเจนในปริมาณที่สูงกว่าปกติ  มักจะพบระบาดในช่วงที่แตงโมออกดอก   ผลิตภัณฑ์แนะนำ ดังนั้นในขณะเตรียมดินควรใส่ปูนขาวปรับสภาพดิน 500 กิโลกรัมต่อไร่ ควรคลุกเมล็ดก่อนปลูกด้วย แอ็คโซแมนโคเซบ 80 อัตราและวิธีใช้ 15 กรัมต่อเมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม พ่นทางใบก่อนออกดอกด้วย ฟราวไซด์ อัตราและวิธีใช้ 15 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร โรคเถาเหี่ยวที่เกิดจาก เชื้อแบคทีเรีย (เหี่ยวเขียว) โดยมีเต่าแตงเป็นแมลงพาหะ เชื้อจะถูกถ่ายทอดเข้าสู่แตงโม เมื่อเต่าแตงมากัดกินใบ เชื้อจะเข้าไปอุดท่อน้ำเลี้ยงในต้นแตงโม ดังนั้นการกำจัดเต่าแตงก็สามารถป้องกันการระบาดได้เป็นอย่างดี   ผลิตภัณฑ์แนะนำ หากพบการระบาดให้พ่นทางใบด้วย โคปิน่า 85 ดับบลิวพี อัตราและวิธีใช้ 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ไอโรเน่ ดับบลิวจี อัตราและวิธีใช้ 10 – 15…

แมลงศัตรูแตงโม

แมลงศัตรูแตงโม เพลี้ยไฟ  หรือ โรคยอดตั้ง  หรือโรคไอ้โต้ง ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราคอน 70 อัตราและวิธีใช้ 5 – 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร เอราทริป โกลด์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร เอราโพรทริน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 30 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เอรานูฟอส อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เต่าแตง ผลิตภัณฑ์แนะนำ คาร์บาริล 85 อัตราและวิธีใช้ 20 – 30 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร เอราท๊อกซ์ อัตราและวิธีใช้…

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตแตงโม

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตแตงโม แตงโมชอบดินที่มีสภาพร่วนซุย มีการระบายน้ำที่ดี การเตรียมดินก่อนปลูกควรมีการใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักรองพื้นประมาณ 1,600 กิโลกรัมต่อไร่เพื่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน และใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักอีกครั้งในช่วงของการเจริญเติบโตประมาณ 800 กิโลกรัมต่อไร่ การบำรุงดูแล ระยะย้ายกล้า ปลูกลงแปลง กระตุ้นการแตกราก ปรับสภาพดิน ควรรองก้นหลุมด้วย ผลิตภัณฑ์แนะนำ ท๊อปเอ็น (Top N) ไมโครแคล ท๊อปเอ็น (Top N) นวัตกรรมใหม่ สำหรับการบำรุงพืช ช่วยปรับปรุงดิน ประโยชน์ กระตุ้นการเจริญเติบโตของราก  เร่งการเจริญเติบโตของกล้าแตงโม ให้ต้นเขียว โตไว  เพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตให้กับพืช อัตราและวิธีใช้ อัตรา  50 กก. ต่อไร่   ไมโครแคล ธาตุอาหารชนิดเม็ดความเข้มข้นสูง ประโยชน์ ธาตุอาหารรอง CaO MgO S ช่วยเพิ่มผลผลิตทั้งปริมาณและคุณภาพ ธาตุอาหารเสริม Zn Cu Fe Mn B Mo ช่วยให้พืชแข็งแรงทนทานต่อโรคพืชที่อยู่ในดิน อัตราและวิธีใช้…

ข้าวโพด

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตข้าวโพด หลังปลูกข้าวโพด 0 – 4 วัน หลังปลูกข้าวโพด 0 – 4 วัน พ่นคลุมด้วย ผลิตภัณฑ์แนะนำ   ชุดช้างศึกคุม อัตราใช้น้อย ปลอดภัยต่อข้าวโพด อ้อย และพืชข้างเคียง ใช้คุมวัชพืชก่อนวัชพืชงอก เอราซีน 50 เอสซี อะโทลล์ เฟล็กซ์ อัตราและวิธีใช้ อะโทลล์ เฟล็กซ์  อัตรา 15 ซีซี ผสม เอราซีน 50 เอสซี อัตรา 250 ซีซี  ผสมน้ำ 60-80 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 ไร่   หรือ พ่นคุมวัชพืชในข้าวโพด บนพื้นที่ 6 ไร่ อะโทลล์ เฟล็กซ์  อัตรา 100 ซีซี…

กล้วยไม้ : โรคแมลงศัตรูพืช

โรคแมลงศัตรูพืช อัตราและวิธีใช้ เรนแมน (สารไชยาโซฟามิด 40% เอสซี) ในอัตรา 5 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ควรพ่นซ้ำอย่างน้อย 2 ครั้งห่างกัน 7-10 วัน ปัญหาแมลงศัตรูกล้วยไม้ที่ยุ่งยากต่อการกำจัด เพลี้ยไฟศัตรูวายร้ายที่ต้านยา ปัญหาเพลี้ยไฟ เป็นปัญหาหลักที่จัดการได้ยาก กล้วยไม้ส่งออกไปยังสหภาพยุโรปตรวจพบสารตกค้างประเภทสารกำจัดเพลี้ยไฟในกล้วยไม้เป็นหลักเพลี้ยไฟชาวสวนกล้วยไม้รู้จักกันในชื่อว่า “ตัวกินสี” เป็นแมลงปากดูดที่มีขนาดเล็กมากที่หลบซ่อนอยู่ตามซอกกลีบดอก จนยากที่จะพบเห็นตัวได้ ผลิตภัณฑ์แนะนำ ผลิตภัณฑ์บริษัท เอราวัณเคมีเกษตรที่สามารถกำจัดเพลี้ยไฟได้ส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติออกฤทธิ์แบบดูดซึมเป็นหลักหรือซึมผ่านใต้พื้นผิวใบสารในกลุ่มนีโอนิโคตินอยด์ ได้แก่ เอราคอน 70 เอราท็อกซ์ เอราทริป 5 เอสซี เอราเมท โกลด์ เอราทริน 2.5 อัตราและวิธีใช้ เอราคอน 70 (สารอิมิดาคลอพริด 70% ดับบลิวจี) ให้ใช้ในอัตรา 5 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร และ เอราท็อกซ์ (สารไทอะมีโทแซม 25%…

กล้วยไม้ : โรคพืช

โรคพืช ปัญหาโรคศัตรูกล้วยไม้ที่มีสาเหตุมาจากเชื้อรา โรคใบไหม้ โรคเกสรดำ กลีบดอกไหม้ โรคใบไหม้ในกล้วยไม้สกุลสปาโทกลอสทิส กล้วยไม้ดินใบหมาก กล้วยไม้เอื้องพร้าวและกล้วยไม้สกุลซิมบิเดียม ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราสตาร์ 32.5 เอสซี เรสเปคท์ บูล 72 ดับบลิวพี เอราโปรราซ 49 อัตราและวิธีใช้ เอราสตาร์ 5 เอสซี (สารอะซอกซีสโตรบิน บวกสารไดฟีโนโคนาโซล 12.5%+20% เอสซี) อัตรา10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ผสมกับ เรสเปคท์ บูล 72 ดับบลิวพี อัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือพ่นสลับกับ เอราโปรราซ 49 ในอัตรา 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร โรคเน่าแห้งหรือโรคราเม็ดผักกาดในกล้วยไม้หลายสกุล ทำให้หัวเน่า ลำต้นเน่า รากเน่า ผลิตภัณฑ์แนะนำ…