โรคพืชทุเรียน : โรคราสีชมพู

โรคราสีชมพู (Pink Disease) เกิดจากเชื้อรา คอร์ทีเซียม Corticiumsalmonicolor   มักพบในแปลงทุเรียนที่มีความชื้นสูงขาดการดูแลรักษาและการตัดแต่งกิ่ง ทำให้เกิดกิ่งซ้อนกันหนาแน่น โดยเริ่มแรกจะพบเชื้อราสีขาวขึ้นปกคลุมบริเวณกิ่งที่มีใบเหลืองร่วง ต่อสร้างส่วนขยายพันธุ์กลายเป็นสีชมพู ทำให้กิ่งแห้ง   การป้องกันกำจัดโรคราสีชมพู ควรมีการตัดแต่งอย่างเหมาะสมภายหลังเก็บเกี่ยว เพื่อช่วยให้ทรงพุ่มโปร่ง ลดความชื้นที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรค หากเกิดโรคอย่างรุนแรงคืออาการกิ่งแห้งและใบเหลืองร่วงควรตัดกิ่งเผาทำลาย แล้วทารอยแผลตัดด้วย   ผลิตภัณฑ์แนะนำ ฟราวไซด์ ไอโรเน่ ดับบลิวจี โคปิน่า 85 ดับบลิวพี การใช้สารเคมีเกษตรควรใช้วิธีการทากิ่งและพ่นตามกิ่งบริเวณที่เกิดโรคในระยะเริ่มแรกก่อนจะกลายเป็นสีชมพูอย่างสม่ำเสมอ   ผลิตภัณฑ์แนะนำ ฟราวไซด์ อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 1 ลิตร ไอโรเน่ ดับบลิวจี อัตรา 20 กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร โคปิน่า 85 ดับบลิวพี อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร พ่นกิ่งบริเวณที่เกิดโรค ฟราวไซด์ อัตรา 10…

โรคพืชทุเรียน : โรครากเน่า โคนเน่า

โรครากเน่า โคนเน่า เกิดจากเชื้อรา ไฟทอฟธอรา Phytophthora palmivora   เชื้อชนิดนี้จะพักตัวอยู่ในดินในรูปของคลาไมโดสปอร์(Chlamydospores) พักตัวอยู่ในดินได้นานเป็นปีๆ เมื่อสภาวะเหมาะสมหรือเมื่อมีความชื้นมีน้ำก็จะงอกออกมาเป็นเส้นใย สร้างส่วนขยายพันธุ์ที่เรียกว่าสปอร์แรงเจี่ยม(sporangium)ที่มีสปอร์ที่มีหางอยู่ภายในที่เรียกว่าซูโอสปอร์(Zoospores) เมื่อแตกออกมาก็จะเคลื่อนที่ไปตามน้ำเข้าทำลายระบบรากของทุเรียน ซึ่งอาจจะแพร่กระจายติดไปกับดินปลูกและกิ่งพันธุ์ได้ เชื้อชนิดนี้สามารถเข้าทำลายระบบราก ลำต้น กิ่ง ใบและผลทุเรียนได้ โดยเฉพาะเมื่อเริ่มติดผลอ่อนจนกระทั่งผลแก่ โดยติดเชื้อจากความชื้นจากการไหล ชะล้างและแรงกระแทกจากน้ำฝน   ผลิตภัณฑ์แนะนำ วิธีการทาแผลที่เป็นโรค ถากหรือขูดแผลที่เน่าออกให้หมด และขูดเปลือกเนื้อไม้รอบๆแผลซึ่งเป็นเนื้อไม้ดีออกกว้างประมาณ 3 นิ้ว แล้วใช้ เรนแมน อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 1 ลิตร ทาตามบริเวณรอยถาก แล้วพ่นทางใบด้วย เรนแมน อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นให้ทั่วใบและลำต้น เดือนละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 3 ครั้ง เอราฟอสทิล อัตรา 150 กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร…

การบำรุงดูแลทุเรียน : บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล

บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล ใช้บ่มผลทุเรียนที่มีอายุการเก็บเกี่ยว 100-110 วัน   ผลิตภัณฑ์แนะนำ อีทีฟอน 48 เอสแอล อัตรา 8-12 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นไปบนผลทุเรียนให้ทั่วแล้วนำไปบ่มในตู้บ่มทุเรียน ไซโฟเฟอร์ท 6-10-32 อัตรา 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร การบำรุงดูแลทุเรียน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว แตกใบอ่อน ระยะใบเพสลาด ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ระยะเหยียดตีนหนู บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม การบำรุงผลอ่อนทุเรียน การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล

การบำรุงดูแลทุเรียน : เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล

เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผลด้วยผลิตภัณฑ์ไบโอลชิมจากประเทศอิตาลี   ผลิตภัณฑ์แนะนำ คริสส์ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นเมื่อเริ่มติดผล ทุกๆ 12-15 วัน การบำรุงดูแลทุเรียน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว แตกใบอ่อน ระยะใบเพสลาด ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ระยะเหยียดตีนหนู บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม การบำรุงผลอ่อนทุเรียน การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล

การบำรุงดูแลทุเรียน : การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล

การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล เพื่อเร่งการสุกของผลให้สามารถเก็บเกี่ยวได้ก่อนฤดูกาลโดยมีคุณภาพเนื้อที่ดีมีความหวานและสีผิวผลที่เหมาะสม   ผลิตภัณฑ์แนะนำ เซ็ท 46 อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2  ครั้งก่อนเก็บเกี่ยว 30 และ 15 วัน การบำรุงดูแลทุเรียน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว แตกใบอ่อน ระยะใบเพสลาด ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ระยะเหยียดตีนหนู บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม การบำรุงผลอ่อนทุเรียน การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล

การบำรุงดูแลทุเรียน : เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล

เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล เพื่อพัฒนาการของเนื้อผลเป็นไปอย่างสมบูรณ์   ผลิตภัณฑ์แนะนำ แคลซิซาน อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร ไซโฟแคล อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร ไซโฟเฟอร์ท 6-10-32 อัตรา 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร การบำรุงดูแลทุเรียน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว แตกใบอ่อน ระยะใบเพสลาด ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ระยะเหยียดตีนหนู บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม การบำรุงผลอ่อนทุเรียน การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล

การบำรุงดูแลทุเรียน : การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล

การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพื่อให้มีพัฒนาการของผลอย่างสมบูรณ์   ผลิตภัณฑ์แนะนำ เกร็ดไซโฟเฟอร์ท 8-27-27 อัตรา 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร แคลซิซาน อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร ไซโฟแคล อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร คริสส์ อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร การบำรุงดูแลทุเรียน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว แตกใบอ่อน ระยะใบเพสลาด ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ระยะเหยียดตีนหนู บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม การบำรุงผลอ่อนทุเรียน การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล

การบำรุงดูแลทุเรียน : การบำรุงผลอ่อนทุเรียน

การบำรุงผลอ่อนทุเรียน เพื่อให้มีพัฒนาการของผลอย่างสมบูรณ์ ไซโฟเฟอร์ท 18-18-18 อัตรา 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร แคลซิซาน  อัตรา 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร อีลีมิน อัตรา 5 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หากมีใบอ่อนแตกแซมจำนวนมากในช่วงนี้ เพื่อลดการแตกใบอ่อนและลดปริมาณใบอ่อนลง   ผลิตภัณฑ์แนะนำ ปุ๋ยเกร็ดเอราวัณเฟอร์ท 0-52-34 อัตรา 100 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นไปบริเวณที่มีใบอ่อนแตกแซม การบำรุงดูแลทุเรียน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว แตกใบอ่อน ระยะใบเพสลาด ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ระยะเหยียดตีนหนู บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม การบำรุงผลอ่อนทุเรียน การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล

การบำรุงดูแลทุเรียน : เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม

เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม ในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนามมักพบอาการผลอ่อนร่วงมากเพื่อช่วยลดการร่วงของผล   ผลิตภัณฑ์แนะนำ ไซฟามินบีเค อัตรา 5 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2 ครั้งเมื่อดอกเริ่มบานห่างกัน 5-7 วัน การบำรุงดูแลทุเรียน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว แตกใบอ่อน ระยะใบเพสลาด ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ระยะเหยียดตีนหนู บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม การบำรุงผลอ่อนทุเรียน การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล

การบำรุงดูแลทุเรียน : ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน

ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน ในระยะนี้จำเป็นจะต้องช่วยสร้างสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการผสมเกสรถ้าหากมีน้ำมากควรลดปริมาณการให้น้ำลง ควรพ่นสารช่วยในการผสมเกสร   ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอิร์ท 23 อัตรา 5 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2 ครั้งเมื่อดอกเริ่มบานห่างกัน 5-7 วัน ไซโฟแคล อัตรา 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2 ครั้ง ห่างกัน 5-7 วัน การบำรุงดูแลทุเรียน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว แตกใบอ่อน ระยะใบเพสลาด ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ระยะเหยียดตีนหนู บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม การบำรุงผลอ่อนทุเรียน การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล