หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด

ปัญหาใหญ่ของชาวสวนข้าวโพดคือการเข้าทำลายของ หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ตัวหนอนจะทำลายข้าวโพดตั้งแต่ข้าวโพดงอก จนกระทั่งออกฝัก โดยพบกลุ่มไข่ทั้งด้านบนใบ ใต้ใบ และที่ลำต้นหลังจากฟักจากไข่จะกัดกินยอดและใบข้าวโพดแหว่งหรือกัดกินทั้งใบ 10-11 วันหลังปลูก ตัวหนอนหลบซ่อนแสงอยู่ที่ยอดหรือโคนกาบใบ หากหนอนทำลายในระยะต้นอ่อนจะทำให้ต้นข้าวโพดตาย หากหนอนทำลายในระยะต้นแก่ข้าวโพดจะไม่เจริญเติบโต หากหนอนทำลายฝัก ฝึกจะลีบเล็กไม่สมบูรณ์ ——————- กำจัดหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ด้วย อีมาไซด์ https://bit.ly/3y2nLeS   สารอีมาเมกตินเบนโซเอต 1.92% EC  หรือ อีมาไซด์ 5% ดับบลิวจี https://bit.ly/2WdlccE สารอีมาเมกตินเบนโซเอต 5% WG ออกฤทธิ์แบบถูกตัวตายและกินตาย ไม่ออกฤทธิ์แบบดูดซึม แต่สามารถซึมผ่านบริเวณผิวเข้าไปในตัวแมลงศัตรูพืชได้ ทำให้หนอนหยุดกินอาหารภายใน 1 ชั่วโมง และเข้าทำลายอยู่ภายในระบบทางเดินอาหาร ทำให้ตายได้ภายใน 2-4 วัน ——————- อัตราใช้ อีมาไซด์  20-30 ซีซี , อีมาไซด์ 5% ดับบลิวจี 10-20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร เมื่อพบการระบาด หรือ พ่นในอายุข้าวโพดไม่เกิน 20-30…

ชุดเร่งทำใบสะสมอาหารในทุเรียน

ชุดเร่งทำใบสะสมอาหารในทุเรียน สิ่งที่สำคัญที่จะทำให้ต้นทุเรียนมีการออกดอกเป็นจำนวนมากและสม่ำเสมอ คือการ สะสมอาหาร การบำรุงใบให้สมบูรณ์ คือตัวช่วยทำให้ทุเรียนสะสมอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วย #คูวาส สารอาหารเสริมชนิดผงความเข้มข้นสูง โดยเฉพาะธาตุมักเนเซี่ยม ช่วยสร้างคลอโรฟิลล์ในใบพืช ทำให้ ใบเขียวเข้ม ใบมัน ใบใหญ่ ใบหนา จึงมีการสังเคราะห์แสงที่สูงขึ้น ส่งเสริมการเจริญเติบโตของใบอ่อนรุ่นใหม่ และป้องกันการร่วงหล่นของใบแก่ ทำให้พืชสามารถสร้างและสะสมอาหารได้อย่างเพียงพอสำหรับเร่งการเจริญเติบโต และการออกดอก ใช้ร่วมกับ ซีเนอกอน 2000  สารกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช ประกอบไปด้วยสาร อะมิโนแอซิด #สาหร่ายทะเล และธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช เพราะถ้ามีการสะสมอาหารได้เพียงพอที่ต้องใช้ในการสร้างดอก จะทำให้ดอกออกง่าย และทำดอกได้พร้อมกันทั้งต้น ——————- ? อัตราใช้ แนะนำ คูวาส อัตรา 5 กรัม + ซีเนอกอน 2000 10-20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร (1ปีบ) ควรฉีดพ่นซ้ำอย่างน้อย 3 ครั้ง ห่างกัน 7-10 วัน

การใช้ปุ๋ยเกร็ดพ่นทางใบข้าวโพด

การใช้สารอาหารฮอร์โมนพืช เร่งการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิตด้วย ผลิตภัณฑ์แนะนำ ไซฟามิน บีเค  สารอาหาร และฮอร์โมนสูตรเข้มข้น ข้าวโพดแข็งแรง โตไว ฝักใหญ่ ทนแล้ง สามารถฉีดพ่นผสมไปพร้อมกับสารกำจัดหนอนกระทู้ลายจุดได้ อัตราและวิธีใช้ อัตร 3 – 5 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด คูวาส แมกนีเซียมเข้มข้น 20% และธาตุอื่นๆอีกหลายชนิด ช่วยให้ใบเขียวเข้ม ป้องกันการขาดธาตุอาหารในข้าวโพด อัตราและวิธีใช้ อัตราการใช้น้อยเพียง 5 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด ซีเนอกอน 2000 สาร Amino Acid บริสุทธิ์แท้ๆจากธรรมชาติ ประกอบไปด้วย สาหร่ายทะเล เหล็ก แมกนีเซียม และออกซิน ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของข้าวโพด โตไว ใบเขียวเข้ม แข็งแรง ทนแล้ง ช่วยในการออกดอก ติดฝัก…

โรคพืชข้าวโพด : โรคราน้ำค้าง

โรคราน้ำค้าง (Downy mildew) สาเหตุจากเชื้อรา Peronosclerospora sp. ใช้คลุกเมล็ดข้าวโพดก่อนปลูก ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราแลกซิล 35 อัตรา 10 กรัม ต่อเมล็ดพันธุ์ข้าวโพด 1 กิโลกรัม รายละเอียด ควรพ่นป้องกันหรือเมื่อพบการระบาดของโรคราน้ำค้างด้วย เรสเปคท์ บูล 72 ดับบลิวพี อัตรา 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด เรนแมน อัตรา 5 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด พ่นกลุ่มล่ะ 2 ครั้ง โรคพืชข้าวโพด โรคใบไหม้แผลใหญ่ โรคราน้ำค้าง

แมลงศัตรูพืชข้าวโพด : เพลี้ยไฟ และตัวอ่อนหนอนกระทูข้าวโพดลายจุด

เพลี้ยไฟ และตัวอ่อนหนอนกระทูข้าวโพดลายจุด ผลิตภัณฑ์แนะนำ มอร์เทล หยอดข้างแถว 4 – 5 กก. ต่อไร่ รายละเอียด ผลิตภัณฑ์แนะนำ มอร์เทล หยอดข้างแถว 4 – 5 กก. ต่อไร่ รายละเอียด แมลงศัตรูพืชข้าวโพด หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด เพลี้ยไฟ และตัวอ่อนหนอนกระทูข้าวโพดลายจุด

ข้าวโพด : หลังปลูกข้าวโพด 7 – 15 วัน

หลังปลูกข้าวโพด 7 – 15 วัน วัชพืชมีใบอ่อน 3 – 5 ใบ พ่นกำจัดด้วย ผลิตภัณฑ์แนะนำ   ชุดช้างศึกฆ่า สามารถพ่นทับยอดข้าวโพดภายหลังข้าวโพดงอกแล้ว หรือภายหลังปลูก 7 – 15 วัน ฆ่าวัชพืชใบกว้าง เช่น ปอวัชพืช กระดุมใบ ถั่วลิสงนา สาบม่วง เซ่งใบมน ตำแยไฟ หญ้ายาง หญ้าลิ้นงู ฆ่าวัชพืชใบแคบ เช่น หญ้าปากควาย โซบีแรน รายละเอียด ฮาสเทน ซีเนอกอน 2000 รายละเอียด เอราซีน 90 ดับบลิวจี รายละเอียด อัตราและวิธีใช้ โซบีแรน  อัตรา 40 ซีซี ผสม ฮาสเทน อัตรา 80 ซีซี ผสม ซีเนอกอน…

ข้าวโพด : หากพบปัญหาหญ้าขน หรือหญ้าโขย่ง

หากพบปัญหาหญ้าขน หรือหญ้าโขย่ง หญ้าขน หรือ หญ้าโขย่ง [Rottboella cochinchinensis (Lour.) Clayton]  เป็นวัชพืชฤดูเดียว มีต้นสูง 1.5 – 2 เมตร อาจสูงได้ถึง 4 เมตร โตได้ไวกว่าข้าวโพด แข่งขันกับข้าวโพดอย่างรุนแรง ทำให้ข้าวโพดโตช้า ผลผลิตลดลง หญ้าโขย่ง 1 ต้น จะมีเมล็ดประมาณ 2,200 – 16,500 เมล็ด การกำจัดหญ้าโขย่งที่โตแล้วทำได้ยาก จึงควรพ่นคุมเมล็ดจะได้ผลดีกว่า เอราธาลิน รายละเอียด อะโทลล์ เฟล็กซ์ รายละเอียด ผลิตภัณฑ์แนะนำ อะโทลล์ เฟล็กซ์  อัตรา 100 ซีซี ผสม เอราธาริน อัตรา 2 ลิตร (2 ขวด) ต่อพื้นที่ปลูกข้าวโพด 6 ไร่ ควรพ่นทันทีหลังปลูกข้าวโพด ในระยะ…

ข้าวโพด : หลังปลูกข้าวโพด 0 – 4 วัน

หลังปลูกข้าวโพด 0 – 4 วัน หลังปลูกข้าวโพด 0 – 4 วัน พ่นคลุมด้วย ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราซีน 50 เอสซี รายละเอียด อะโทลล์ เฟล็กซ์ รายละเอียด ชุดช้างศึกคุม อัตราใช้น้อย ปลอดภัยต่อข้าวโพด อ้อย และพืชข้างเคียง ใช้คุมวัชพืชก่อนวัชพืชงอก อัตราและวิธีใช้ อะโทลล์ เฟล็กซ์  อัตรา 15 ซีซี ผสม เอราซีน 50 เอสซี อัตรา 250 ซีซี  ผสมน้ำ 60-80 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 ไร่   หรือ พ่นคุมวัชพืชในข้าวโพด บนพื้นที่ 6 ไร่ อะโทลล์ เฟล็กซ์  อัตรา 100 ซีซี…

การกำจัดวัชพืชในนาข้าว : การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าก่อนหว่านข้าว 4 วัน

การกำจัดวัชพืชในนาข้าว การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าก่อนหว่านข้าว 4 วัน เอราเอสเทอร์พลัส หว่านให้ทั่วพื้นนาก่อนหว่านข้าวงอก 4 วัน ใช้ในอัตรา 3.2 กิโลกรัมต่อไร่ ปรับพื้นนาให้สม่ำเสมอกักน้ำในกระทงนาให้สูงประมาณ 1-2 นิ้วแล้วจึงหว่านยาให้ทั่วพื้นนาและก่อนหว่านข้าวงอกให้ไขน้ำออกจากแปลงนาให้หมดจากนั้นหลังหว่านข้าวงอกเรียบร้อยแล้วรอข้าวตั้งตัวได้แล้วจึงไขน้ำเข้านาเพื่อช่วยเร่งการเจริญเติบโตให้รักษาระดับน้ำอย่าให้ท่วมยอดข้าว การใช้ยาคุมหญ้าก่อนหว่านข้าว เอราการ์ด คุมหญ้าวัชพืชจำพวกหญ้าได้ดีโดยเฉพาะหญ้าข้าวนก ใช้ขณะลูบเทือกครั้งสุดท้าย โดยใช้วิธีหยดน้ำยาลงไปในเทือก ใช้ในอัตรา 320-400 ซีซีต่อไร่ ให้หยดลงไปในนาที่มีน้ำระดับความลึก 5-10 เซนติเมตรปล่อยให้น้ำยาตกตะกอนอยู่บนผิวดิน 2 วันแล้วค่อยระบายน้ำออกจากนา เป็นการควบคุมเมล็ดหญ้าที่ตกค้างอยู่ในแปลงนา โดยจะดูดซึมเข้าทำลายทางใบเลี้ยงเดี่ยวของวัชพืชจำพวกหญ้าและใบเลี้ยงคู่ของวัชพืชใบกว้างเมื่อเริ่มงอกออกมา จึงใช้เป็นยาคุมหญ้าก่อนวัชพืชงอก สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเพื่อน การบำรุงดูแลข้าว การเตรียมดิน และการใช้ยาคุมหญ้าก่อนหว่านข้าว การหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว และการใช้ยาคุมหญ้าหลังหว่านข้าว การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าในระยะ 7-8 วันหลังหว่านข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้าในระยะ 7-14 วันหลังหว่านข้าว สรุปการใช้ยาฆ่าหญ้าในระยะ 15-30 วันหลังหว่านข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้ากำจัดวัชพืชบริเวณหัวคันนา การใช้ยาฆ่าหญ้าลูบข้าวดีด การใช้ยาฆ่าหญ้าลูบดอกหญ้า การใช้สารกำจัดวัชพืชในนาหว่านข้าวแห้ง

การกำจัดวัชพืชในนาข้าว : การใช้ยาฆ่าหญ้ากำจัดวัชพืชบริเวณหัวคันนา

การบำรุงดูแลข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้ากำจัดวัชพืชบริเวณหัวคันนา เอราบาส ใช้ในอัตรา 120-150 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นบริเวณหัวคันนา ปลอดภัยต่อข้าวถึงแม้ละอองยาจะปลิวไปโดนข้าวบ้างก็ยังสามารถออกรวงได้ตามปกติ การใช้ยาฆ่าหญ้าลูบข้าวดีด เอราบาส ใช้ในอัตรา 200 ซีซีต่อน้ำ 1 ลิตร ใช้ลูบข้าวดีดที่มีความสูงกว่าข้าวปลูกเพื่อให้เมล็ดลีบไม่ให้สะสมเมล็ดในฤดูต่อไปโดยใช้ผ้าที่อุ้มน้ำไดด้ีพันรอบไม้ไผ่ยาวประมาณ 2 เมตรมัดให้แน่นราดด้วยเอราบาสตามอัตราที่เตรียมไว้พอชุ่ม ไม่ให้ชุ่มมากเกินไปจนหยดสารละลายเอราบาสหยดลงไปทำลายข้าวปลูกด้านล่างเสียหาย ลูบข้าวดีดที่เริ่มโผล่พ้นรวง ควรลูบครั้งที่ 2 ห่างจากครั้งแรก 10 วัน ลูบเฉพาะใบธงและรวงข้าวดีด ข้าวดีดจะแห้งตายภายใน 3 วัน ข้าวดีดยืนต้นตายไม่ล้มทับต้นข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้าลูบดอกหญ้า เอราบาส ใช้ในอัตรา 200 ซีซีต่อน้ำ 1 ลิตร ลูบดอกหญ้าขณะเริ่มโผล่รวง ลูบที่ดอกหญ้าทำให้ดอกหญ้าแห้งฝ่อไม่สามารถงอกได้ใหม่ สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเพื่อน การบำรุงดูแลข้าว การเตรียมดิน และการใช้ยาคุมหญ้าก่อนหว่านข้าว การหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว และการใช้ยาคุมหญ้าหลังหว่านข้าว การใช้ยาหว่านคุมฆ่าหญ้าในระยะ 7-8 วันหลังหว่านข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้าในระยะ 7-14 วันหลังหว่านข้าว การใช้ยาฆ่าหญ้ากำจัดวัชพืชบริเวณหัวคันนา การใช้สารกำจัดวัชพืชในนาหว่านข้าวแห้ง