การใช้สารกำจัดวัชพืชในสวนมะม่วง

การใช้สารกำจัดวัชพืชในสวนมะม่วง ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราบาส อัตราและวิธีใช้ อัตรา 150-200 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด ให้ใช้ เอราบาส ในอัตรา 150-200 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เอราบาส นับว่าเป็นสารกำจัดวัชพืชที่มีความปลอดภัยในสวนมะม่วง จากคุณสมบัติที่ไม่สามารถดูดซึมเข้าทางรากและมีการเคลื่อนย้ายอยู่ในพืชได้น้อยออกฤทธิ์แบบสัมผัสได้ดีทำให้การตายของวัชพืชจะแห้งตายได้อย่างรวดเร็วและตายนานอีกทั้งยังมีคุณสมบัติในการกำจัดวัชพืชได้ดีทั้งใบแคบและใบกว้าง (จึงไม่จำเป็นต้องใช้สาร 2,4-D ในแปลงไม้ผลซึ่งมีผลกระทบต่อใบมะม่วงที่มักทำให้เกิดอาการใบม้วนบิดงอ ใบมีขนาดเล็กลง) การใช้สารปรับสภาพน้ำ ไซโฟเวอร์ สารกำจัดศัตรูพืชส่วนใหญ่จะมีช่วงอายุการออกฤทธิ์ที่มีความเจาะจงเฉพาะตัว การนำไปใช้ผสมกับน้ำที่มีฤทธิ์เป็นด่างหรือน้ำที่มีปริมาณของไบคาร์โบเนท จะทำให้สารกำจัดศัตรูพืชเสื่อมสลายตัวได้ง่ายจนกระทั่งหมดฤทธิ์ไป ทำให้การนำไปใช้ผสมกับสารกำจัดศัตรูพืชได้ผลไม่ดีเท่าที่ควร ไซโฟเวอร์ ช่วยปรับสภาพน้ำที่เป็นด่างให้กลายมาเป็นกรดที่เหมาะสมสำหรับนำไปใช้ผสมกับสารกำจัดศัตรูพืชโดยทั่วไปได้เป็นอย่างดี รายละเอียด อัตราการใช้  ไซโฟเวอร์ ขึ้นอยู่กับระดับความเป็นด่างของน้ำและปริมาณการเจือปนของสารไบคาร์โบเนทเป็นหลัก ซึ่งอัตราการใช้ที่เหมาะสมให้สังเกตการเปลี่ยนแปลงสีของน้ำ ถ้าสีของน้ำเริ่มเปลี่ยนเป็นสีแดงแสดงว่าน้ำได้ถูกปรับจนกระทั่งมีความเป็นกรดที่เหมาะสมสำหรับนำไปผสมกับสารกำจัดศัตรูพืชได้แล้ว ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการปรับสภาพน้ำที่มีระดับความเป็นด่างที่ pH 8 ให้มาสู่ระดับน้ำที่ pH 6.5 จะต้องใช้ ไซโฟเวอร์ ในอัตรา  90-100 ซีซีต่อน้ำ 100 ลิตร ข้อแนะนำสำหรับการใช้…

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูมะม่วง

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูมะม่วง เพลี้ยจักจั่นมะม่วง เพลี้ยจักจั่นช่อมะม่วง แมงกะอ้า  เพลี้ยจักจั่นมะม่วงปากดำ (Black lipped mango hopper : Idioscopus  clypealis) เพลี้ยจั๊กจั่นมะม่วงลาย(Striped mango hopper : Idioscopus  niveosparsus) เพลี้ยไฟมะม่วง(Mango thrips : Rhipiphorothrips  cruentatus) เพลี้ยไฟพริก(Chili thrips : Scirtothrips  doesalis) เพลี้ยอ่อนมะม่วง(Mango aphid : Toxoptera  odinae) เพลี้ยกระโดดปีกหุบขาว(White moth cicacda : Lawana  conspersa) เพลี้ยไก่แจ้มะม่วง (Psyllids) ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราทริน 2.5 อีซี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราทริป 5 เอสซี อัตราและวิธีใช้…

การใช้สารป้องกันกำจัดโรคศัตรูมะม่วง

การใช้สารป้องกันกำจัดโรคศัตรูมะม่วง โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose : Colletotrichum  gloeosporioides) โรคใบจุด ช่อดอกดำ ผลจุด ผลเน่า โอเตี้ยม นับว่าเป็นโรคที่สำคัญสำหรับมะม่วง เชื้อสาเหตุสามารถเข้าทำลายได้ทั้งใบอ่อน ช่อดอก ผลอ่อนและผลที่สุกแล้ว ผลิตภัณฑ์แนะนำ ฟราวไซด์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราสตาร์ 32.5 เอสซี  อัตราและวิธีใช้ อัตรา 5-10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เรสเปคท์ บูล72 ดับบลิวพี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เอราสตาร์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 5-10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราคลอราซ 450 อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20…

การบำรุงมะม่วง

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตมะม่วง การบำรุงมะม่วง ผลิตภัณฑ์แนะนำ ท็อป-เอ็น (TOP N) นวัตกรรมใหม่ สำหรับการบำรุงพืช ช่วยปรับปรุงดิน ประโยชน์ ช่วยปรับปรุงดิน สารช่วยเสริมสร้างราก สารช่วยเร่งขยายขนาดของผล สำหรับให้มะม่วงทางดิน   นวัตกรรมใหม่ สำหรับการบำรุงพืช ช่วยปรับปรุงดิน กระตุ้นการเจริญเติบโตของราก กระตุ้นการแตกใบอ่อน ใบเขียวเข้ม เพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตให้กับพืช  สารอินทรีย์ชนิดเม็ดสำหรับใช้กับพืชทางดิน ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปนำเข้ามาจาก บริษัท Cifo Srl ประเทศอิตาลี เป็นสารอินทรีย์ชนิดเม็ดภายใต้นวัตกรรมใหม่สำหรับใช้เป็นสารกระตุ้นทางชีวภาพ ซึ่งประกอบด้วย สารไฮโดรไลซ์ จีเลติน (Hydrolyzed Gelatin) สำหรับนำไปใช้เพื่อเป็นประโยชน์สำหรับพืช ด้วยกระบวนการผลิต FCH (Fully Controlled Hydrolysis) เป็นกระบวนการไฮโดรไลซิสผ่านความร้อนโดยสมบูรณ์    มีการย่อยสลาย Collagen  ควบคุมเวลา ความดัน ปริมาณน้ำ ความชื้น อุณหภูมิ ไม่ให้สูงมาก และทำให้สะอาด มีการอบฆ่าเชื้อ  ปราศจากเชื้อโรค จนได้ Hydrolyzed…

การกำจัดแมลงศัตรูมะนาว

การกำจัดแมลงศัตรูมะนาว หนอนชอนใบ มักระบาดในช่วงมะนาวแตกใบอ่อน พบเป็นทางสีขาวๆวนเวียนอยู่บนใบ  ทำให้ใบหงิกงอ ขอบใบม้วนเข้าหาเส้นกลางใบ ทำให้ต้นแคระแกร็น ไม่ติดผล ผลิตภัณฑ์แนะนำ พ่นทางใบเพื่อกำจัดหนอนชอนใบด้วย เอราแม็กติน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 5 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอรานูฟอส อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร อีมาไซด์ ดับบลิวจี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร เอราด๊อกซาขาบ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 15 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นกำจัดตั้งแต่เริ่มแทงเขี้ยวยอดอ่อน และในช่วงขณะแตกใบอ่อน หนอนกินใบ กัดกินใบอ่อนและยอดอ่อนของมะนาว ผลิตภัณฑ์แนะนำ พ่นกำจัดทางใบด้วย เอรานูฟอส อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราด๊อกซาขาบ…

การป้องกันกำจัดโรคศัตรูมะนาว

การป้องกันกำจัดโรคศัตรูมะนาว โรคแคงเคอร์ ระบาดเข้าทำลายได้ทุกส่วนของมะนาวทั้ง ใบ กิ่ง ลำต้นและผล เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งจะเข้าทำลายภายหลังจากเกิดรอยแผลจากการทำลายของ หนอนชอนใบ การป้องกันกำจัดโรคแคงเคอร์ จึงต้องระวังและคอยกำจัดหนอนชอนใบเมื่อพบการระบาด แล้วตัดแต่งส่วนที่เป็นโรคนำไปทำลายโดยการเผาทิ้ง เพื่อลดการระบาดโรค ผลิตภัณฑ์แนะนำ พ่นทางใบด้วย โปลติเกลีย อัตราและวิธีใช้ อัตรา 100 กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร โคปิน่า 85 ดับบลิวพี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 30 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ไอโรเน่ ดับบลิวจี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร เอราซูก้า อัตราและวิธีใช้ อัตรา 30 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร โรคยางไหล ทำให้เกิดอาการยางไหลออกมาจากลำต้นและกิ่ง เปลือกเน่าและแผลลุกลามไปถึงเนื้อไม้ การป้องกันกำจัดต้องทำให้โปร่งอากาศถ่ายเทได้สะดวก กำจัดวัชพืชภายในแปลงปลูกให้สะอาด ตัดแต่งกิ่งที่เป็นโรคด้วยการเผาทำลาย…

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตมะนาว

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตมะนาว การบำรุงดูแล การให้ปุ๋ยมะนาว ควรเพาะปลูกในช่วงอากาศหนาวเย็น ในฤดูหนาว ที่มีอุณหภูมิในเวลากลางคืนไม่เกิน 22 องศาเซลเซียส เพื่อการติดผลที่ดี การให้ปุ๋ยทางดินมะนาว รองก้นหลุมก่อนย้ายกล้าปลูกลงแปลง ผลิตภัณฑ์แนะนำ ภายหลังปลูก เพิ่งจะเริ่มตั้งตัว อายุ 3-4 เดือน ใส่ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ภายหลังกำจัดวัชพืช ท็อป-เอ็น อัตราและวิธีใช้ อัตรา 300 กรัมต่อต้น การกำจัดวัชพืช ผลิตภัณฑ์แนะนำ กำจัดวัชพืชทุกชนิดทั้งวัชพืชใบแคบ วัชพืชใบกว้างและกก ด้วย เอราบาส อัตราและวิธีใช้ 200 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร / 800 ซีซี ต่อไร่ การใช้ให้ระวังละอองปลิวไปโดนใบนะนาว การตัดแต่งกิ่ง ตัดแต่งกิ่งที่เป็นโรค กิ่งที่โดนทำลายโดยแมลงศัตรูพืช กิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์     มะนาว อายุ 4 ปี ควรตัดแต่งกิ่งออกหนึ่งในสามของทรงพุ่ม    …

การกำจัดแมลงศัตรูมะเขือเทศ

การกำจัดแมลงศัตรูมะเขือเทศ แมลงหวี่ขาว เป็นพาหะของโรคใบหงิกเหลือง ที่เกิดจากเชื้อไวรัส ผลิตภัณฑ์แนะนำ กำจัดด้วย ภายหลังย้ายกล้าปลูกลงแปลงแล้ว พ่นป้องกันกำจัดด้วย เอราท็อกซ์ เอราท็อกซ์ 24 เอสซี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 4-8 กรัม/ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอรามิพริด อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เพื่อกำจัดทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ควรพ่นซ้ำภายใน 7-10 วัน หนอนแมลงวันชอนใบ ผลิตภัณฑ์แนะนำ กำจัดด้วย เอรามอล 83 อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอรามิพริด อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หนอนเจาะผล กำจัดด้วย เอรานูฟอส อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20…

การป้องกันกำจัดโรคศัตรูมะเขือเทศ

การป้องกันกำจัดโรคศัตรูมะเขือเทศ โรคกล้าเน่า โรคเน่าคอดิน พบกล้าเน่าภายหลังย้ายกล้าปลูกลงดิน ต้นหักพับในระดับผิวดิน เชื้อสาเหตุของโรคติดมากับเมล็ดพันธุ์ ดังนั้นก่อนเพาะเมล็ด ให้แช่เมล็ดในน้ำอุ่น 55 องศาเซลเซียส นาน 20 นาที ผลิตภัณฑ์แนะนำ ภายหลังย้ายกล้าปลูกลงแปลงแล้ว พ่นป้องกันกำจัดด้วย เรนแมน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 5 ซีซีต่อน้ำ 20ลิตร โรคโคนต้นเน่า โรคราเมล็ดผักกาด เกิดเป็นเม็ดสีน้ำตาล โดยมีขุยสีขาวปกคลุมอยู่บริเวณโคนต้น ทำให้โคนต้นเน่า ใบเหี่ยว ผลิตภัณฑ์แนะนำ ป้องกันกำจัดด้วย ฟราวไซด์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร โรคใบแห้ง โรคใบไหม้ ทำให้ใบแห้งเหี่ยวตาย ทำให้เกิดแผลสีน้ำตาลบนผล พบอาการผิวผลแตก เน่าและหลุดร่วงในที่สุด ผลิตภัณฑ์แนะนำ ป้องกันกำจัดด้วย เรนแมน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 5 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร แฟนติค เอ็ม อัตราและวิธีใช้…

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตมะเขือเทศ

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตมะเขือเทศ การบำรุง ควรเพาะปลูกในช่วงอากาศหนาวเย็น ในฤดูหนาว ที่มีอุณหภูมิในเวลากลางคืนไม่เกิน 22 องศาเซลเซียส เพื่อการติดผลที่ดี การให้ปุ๋ยทางดินมะเขือเทศ รองก้นหลุมก่อนย้ายกล้าปลูกลงแปลง ภายหลังเตรียมแปลงปลูกแล้วเสร็จ รองก้นหลุมก่อนย้ายกล้าลงแปลง ด้วยสารช่วยเร่งการเจริญเติบโต เสริมสร้างรากและช่วยเก็บกักน้ำในสภาวะแห้งแล้ง ผลิตภัณฑ์แนะนำ ท็อป-เอ็น ใช้คู่กับปุ๋ยเคมีสูตรเสมอ อัตรา 10 กรัมต่อหลุม ภายหลังย้ายกล้าปลูกลงแปลง หลังย้ายกล้าปลูก 7 วัน ผลิตภัณฑ์แนะนำ ท็อป-เอ็น อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 กรัมต่อหลุม ใช้คู่กับปุ๋ยเคมีสูตรหลังสูง อัตรา 15 กิโลกรัมต่อไร่ และเพื่อป้องกันการระบาดของแมลงหวี่ขาวที่เป็นพาหะของโรคไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคยอดหงิก ให้ราดทางดินภายหลังย้ายกล้าปลูกลงแปลง ด้วย เอราท็อกซ์ เอราท็อกซ์ 24 เอสซี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 64 กรัม/ซีซีต่อน้ำ 80 ลิตรต่อไร่ หลังย้ายกล้าปลูก 22 วัน ผลิตภัณฑ์แนะนำ ท็อป-เอ็น อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20…