โรคพืชกล้วยไม้ : ปัญหาโรคศัตรูพืชกล้วยไม้ที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย

ปัญหาโรคศัตรูพืชกล้วยไม้ที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย โรคกลีบดอกไหม้ของกล้วยไม้สกุลมอคคารา โรคใบจุดและโรคเน่าในกล้วยไม้สกุลออนซิเดียม โรคลำต้นเน่าในกล้วยไม้สกุลแกรมมะโตฟิลลัม โรคเน่าเละในกล้วยไม้สกุลฟาเลนนอฟซิส การป้องกันกำจัดโรคศัตรูกล้วยไม้ที่มีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรียโดยการใช้สารเคมีเกษตร ชาวสวนกล้วยไม้ใช้สาร เจนต้าไมซินซัลเฟต (gentamycin sulfate) ผสมออกซี่เตตร้าไซคลินไฮโดรคลอไรด์ (oxytetracycline hydrochloride) สามารถป้องกันกำจัดได้ในระดับหนึ่ง แต่การใช้ซ้ำๆกันหลายครั้งทำให้เกิดอาการดื้อยาได้ง่ายหรือการใช้ในอัตราความเข้มข้นสูงอาจทำให้กล้วยไม้เกิดอาการเป็นพิษกลายเป็นสีเหลืองซีดขาวโดยเฉพาะกล้วยไม้สกุลแวนด้าและเอสโคเซนด้า อีกทั้งยังมีต้นทุนที่สูงอีกด้วย   ผลิตภัณฑ์แนะนำ ไอโรเน่ ดับบลิวจี อัตราและวิธีใช้ การแช่หน่อพันธุ์ลำลูกกล้วยด้วย  “ไอโรเน่ ดับบลิวจี” ในอัตรา 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ก่อนนำไปปลูกจะช่วยลดการระบาดของโรคกล้วยไม้ที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย จะช่วยลดการเกิดโรคได้ในระดับหนึ่ง และภายหลังปลูกหากพ่นด้วย  “ไอโรเน่ ดับบลิวจี” ในอัตราเดียวกันคือ 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตรจะช่วยให้การควบคุมโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียมีประสิทธิภาพมากขึ้น รายละเอียด โรคพืชกล้วยไม้ โรคใบไหม้ โรคเกสรดำ กลีบดอกไหม้ โรคเน่าแห้งหรือโรคราเม็ดผักกาดในกล้วยไม้หลายสกุล โรคเน่าดำหรือยอดเน่าหรือบางครั้งเรียกโรคเน่าเข้าไส้ โรคดอกสนิมหรือจุดสนิม โรคใบปื้นเหลือง โรคใบจุดฟิลลอสติคติน่าโรคใบขี้กลาก ปัญหาโรคศัตรูพืชกล้วยไม้ที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย

โรคพืชกล้วยไม้ : โรคใบจุดฟิลลอสติคติน่าโรคใบขี้กลาก

โรคใบจุดฟิลลอสติคติน่าโรคใบขี้กลาก พบระบาดมากในกล้วยไม้สกุลหวายและแวนด้า   ผลิตภัณฑ์แนะนำ แคปแทน 50 รายละเอียด เอราคลอราซ 450 รายละเอียด อัตราและวิธีใช้ แคปแทน50 (สารแคปแทน 50% ดับบลิวพี) ในอัตรา 40 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นสลับกับ เอราคลอราซ 450 (สารโพรคลอราซ 45% อีซี) ในอัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร โรบินนิล อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 -20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร รายละเอียด โรคพืชกล้วยไม้ โรคใบไหม้ โรคเกสรดำ กลีบดอกไหม้ โรคเน่าแห้งหรือโรคราเม็ดผักกาดในกล้วยไม้หลายสกุล โรคเน่าดำหรือยอดเน่าหรือบางครั้งเรียกโรคเน่าเข้าไส้ โรคดอกสนิมหรือจุดสนิม โรคใบปื้นเหลือง โรคใบจุดฟิลลอสติคติน่าโรคใบขี้กลาก ปัญหาโรคศัตรูพืชกล้วยไม้ที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย

โรคพืชกล้วยไม้ : โรคใบปื้นเหลือง

โรคใบปื้นเหลือง พบระบาดมากในกล้วยไม้สกุลหวาย   ผลิตภัณฑ์แนะนำ แคปแทน 50 รายละเอียด เอราคลอราซ 450 รายละเอียด อัตราและวิธีใช้ แคปแทน50 (สารแคปแทน 50% ดับบลิวพี) ในอัตรา 40 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นสลับกับ เอราคลอราซ 450 (สารโพรคลอราซ 45% อีซี) ในอัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร โรคพืชกล้วยไม้ โรคใบไหม้ โรคเกสรดำ กลีบดอกไหม้ โรคเน่าแห้งหรือโรคราเม็ดผักกาดในกล้วยไม้หลายสกุล โรคเน่าดำหรือยอดเน่าหรือบางครั้งเรียกโรคเน่าเข้าไส้ โรคดอกสนิมหรือจุดสนิม โรคใบปื้นเหลือง โรคใบจุดฟิลลอสติคติน่าโรคใบขี้กลาก ปัญหาโรคศัตรูพืชกล้วยไม้ที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย

โรคพืชกล้วยไม้ : โรคดอกสนิมหรือจุดสนิม

โรคเน่าเข้าไส้โรคดอกสนิมหรือจุดสนิม พบระบาดมากในกล้วยไม้ลูกผสมสกุลหวายเช่น หวายขาว หวายชมพู หวายปอมปาดัวร์ หวายซีซาร์ มักระบาดในช่วงที่มีฝนตกหนักในช่วงฤดูฝนหรือมีน้ำค้างลงมาก จะพบเห็นเป็นจุดสีสนิมเข้มบนกลีบดอก   ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราคลอราซ 450 รายละเอียด อัตราและวิธีใช้ เอราคลอราซ 450 (สารโพรคลอราซ 45% อีซี) ในอัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร โรคพืชกล้วยไม้ โรคใบไหม้ โรคเกสรดำ กลีบดอกไหม้ โรคเน่าแห้งหรือโรคราเม็ดผักกาดในกล้วยไม้หลายสกุล โรคเน่าดำหรือยอดเน่าหรือบางครั้งเรียกโรคเน่าเข้าไส้ โรคดอกสนิมหรือจุดสนิม โรคใบปื้นเหลือง โรคใบจุดฟิลลอสติคติน่าโรคใบขี้กลาก ปัญหาโรคศัตรูพืชกล้วยไม้ที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย

โรคพืชกล้วยไม้ : โรคเน่าดำหรือยอดเน่าหรือบางครั้งเรียกโรคเน่าเข้าไส้

โรคเน่าดำหรือยอดเน่าหรือบางครั้งเรียกโรคเน่าเข้าไส้ ระบาดในกล้วยไม้หลายสกุล เช่น กล้วยไม้ลูกผสมสกุลหวาย แวนดา ทีเอ็มเอ แวนด้ารอทไชเดียน่า อะแรนดาคริสติน อะแรนดานอรา แคทลียา มอคคารา อาการที่พบเห็นที่ต้นจะทำให้ใบเหลืองและหลุดร่วงจนชาวสวนเรียกว่า “โรคแก้ผ้า” อาการที่พบเห็นที่ดอก กลีบดอกตูมจะเน่าและหลุดจากก้านช่อ อาการที่ก้านช่อดอก ทำให้ก้านช่อดอกเน่าดำและหักพับในที่สุด อาการที่ราก ทำให้รากเน่า แห้งแฟบ   ผลิตภัณฑ์แนะนำ เรนแมน รายละเอียด อัตราและวิธีใช้ เรนแมน (สารไชยาโซฟามิด 40% เอสซี) ในอัตรา 5 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ควรพ่นซ้ำอย่างน้อย 2 ครั้งห่างกัน 7-10 วัน โรคพืชกล้วยไม้ โรคใบไหม้ โรคเกสรดำ กลีบดอกไหม้ โรคเน่าแห้งหรือโรคราเม็ดผักกาดในกล้วยไม้หลายสกุล โรคเน่าดำหรือยอดเน่าหรือบางครั้งเรียกโรคเน่าเข้าไส้ โรคดอกสนิมหรือจุดสนิม โรคใบปื้นเหลือง โรคใบจุดฟิลลอสติคติน่าโรคใบขี้กลาก ปัญหาโรคศัตรูพืชกล้วยไม้ที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย

โรคพืชกล้วยไม้ : โรคเน่าแห้งหรือโรคราเม็ดผักกาดในกล้วยไม้หลายสกุล

โรคเน่าแห้งหรือโรคราเม็ดผักกาดในกล้วยไม้หลายสกุล ทำให้หัวเน่า ลำต้นเน่า รากเน่า   ผลิตภัณฑ์แนะนำ ฟราวไซด์ รายละเอียด อัตราและวิธีใช้ ฟราวไซด์ (สารฟลูอะซินาม 50% เอสซี) ในอัตรา10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นอย่างน้อย 2 ครั้งห่างกัน 7-10 วัน โรคพืชกล้วยไม้ โรคใบไหม้ โรคเกสรดำ กลีบดอกไหม้ โรคเน่าแห้งหรือโรคราเม็ดผักกาดในกล้วยไม้หลายสกุล โรคเน่าดำหรือยอดเน่าหรือบางครั้งเรียกโรคเน่าเข้าไส้ โรคดอกสนิมหรือจุดสนิม โรคใบปื้นเหลือง โรคใบจุดฟิลลอสติคติน่าโรคใบขี้กลาก ปัญหาโรคศัตรูพืชกล้วยไม้ที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย

โรคพืชกล้วยไม้ : โรคใบไหม้ โรคเกสรดำ กลีบดอกไหม้

โรคใบไหม้ โรคเกสรดำ กลีบดอกไหม้ โรคใบไหม้ในกล้วยไม้สกุลสปาโทกลอสทิส กล้วยไม้ดินใบหมาก กล้วยไม้เอื้องพร้าวและกล้วยไม้สกุลซิมบิเดียม   ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราสตาร์ 32.5 เอสซี รายละเอียด เรสเปคท์ บูล 72 ดับบลิวพี รายละเอียด เอราโปรราซ 49 รายละเอียด อัตราและวิธีใช้ เอราสตาร์ 5 เอสซี (สารอะซอกซีสโตรบิน บวกสารไดฟีโนโคนาโซล 12.5%+20% เอสซี) อัตรา10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ผสมกับ เรสเปคท์ บูล 72 ดับบลิวพี อัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือพ่นสลับกับ เอราโปรราซ 49 ในอัตรา 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร โรคพืชกล้วยไม้ โรคใบไหม้ โรคเกสรดำ…

การกำจัดวัชพืช : มอสและตะไคร่มากับความชื้นบนเครื่องปลูก

มอสและตะไคร่มากับความชื้นบนเครื่องปลูก การกำจัดมอสและตะไคร่ที่ขึ้นบนเครื่องปลูก   ผลิตภัณฑ์แนะนำ แคปแทน 50 แคปแทน 50 (สารแคปแทน 50% ดับบลิวพี) พ่นลงไปบนเครื่องปลูกที่มีมอสและตะไคร่ขึ้นปกคลุม ในอัตรา 60 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นเดือนละครั้งในช่วงหน้าฝน จนกว่ามอสและตะไคร่แห้งหลุดลอกออกไป รายละเอียด การกำจัดวัชพืชกล้วยไม้ ปัญหาวัชพืชบนเครื่องปลูกที่หายากำจัดยาก มอสและตะไคร่มากับความชื้นบนเครื่องปลูก

การกำจัดวัชพืช : ปัญหาวัชพืชบนเครื่องปลูกที่หายากำจัดยาก

ปัญหาวัชพืชบนเครื่องปลูกที่หายากำจัดยาก บางครั้งพบการระบาดของวัชพืชบนเครื่องปลูก การใช้สารกำจัดวัชพืชจะต้องระมัดระวังเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากสารกำจัดวัชพืชส่วนใหญ่จะออกฤทธิ์เป็นพิษกับกล้วยไม้ได้ด้วย การใช้สารกำจัดวัชพืชบางชนิดจะต้องลดความเข้มข้นของสารลงและจะต้องใช้กับกล้วยไม้ที่แข็งแรงแล้วอายุมากกว่า 1 ปีขึ้นไป และใช้ได้ในกล้วยไม้บางสกุลโดยเฉพาะสกุลหวายเท่านั้น กล้วยไม้สกุลอื่นๆจะต้องระมัดระวังหรือห้ามใช้สารกำจัดวัชพืชโดยเด็ดขาด   ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอรายูรอน 80 ชนิดผง  รายละเอียด เอรายูรอน 80 เอสซี ชนิดครีม รายละเอียด อัตราและวิธีใช้ บนฉลากไม่มีคำแนะนำการใช้ หากจำเป็นจะต้องใช้กำจัดวัชพืชจะต้องลดอัตราการใช้ลงเหลือ 3-5 กรัมหรือซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นเมื่อวัชพืชเริ่มงอกมีใบปรากฏให้เห็นหรือวัชพืชสูงไม่เกิน 3 เซนติเมตร จะกำจัดได้ดี ถ้าวัชพืชมีขนาดโตกว่านี้ในอัตราที่แนะนำอาจไม่สามารถกำจัดวัชพืชได้ โดยพ่นลงไปที่เครื่องปลูกปีละ 1-2 ครั้งก็เพียงพอ การกำจัดวัชพืชกล้วยไม้ ปัญหาวัชพืชบนเครื่องปลูกที่หายากำจัดยาก มอสและตะไคร่มากับความชื้นบนเครื่องปลูก

การบำรุงดูแลกล้วยไม้ : น้ำคือหัวใจของการเพาะปลูกกล้วยไม้

น้ำคือหัวใจของการเพาะปลูกกล้วยไม้ น้ำที่เป็นด่าง น้ำกระด้าง น้ำที่มีเกลือแร่เจือปน น้ำที่มีตะกอนดิน คือสาเหตุที่ทำให้สารกำจัดศัตรูพืชเสื่อมสภาพ การจัดการน้ำสำหรับนำมาใช้ผสมกับสารกำจัดศัตรูกล้วยไม้จึงเป็นสิ่งสำคัญเบื้องต้นจึงควรมีการปรับสภาพน้ำก่อนพ่นยา ผลิตภัณฑ์แนะนำ ไซโฟเวอร์ ธาตุแคลเซี่ยมและโบรอนสูตรสำเร็จรูปจากประเทศอิตาลีในสัดส่วนที่เหมาะสมทางวิชาการ สารมหัศจรรย์สำหรับกล้วยไม้ เสริมสร้างประสิทธิภาพในการกำจัดศัตรูพืชได้อย่างแท้จริง ด้วยคุณสมบัติพิเศษหลายประการ สารช่วยปรับสภาพน้ำ สารที่ช่วยให้เกิดการเข้ากันได้ระหว่างสารกำจัดศัตรูพืชที่นำมาผสมร่วมกัน สารเสริมฤทธิ์ยา สารช่วยในการเปียกใบ สารช่วยในจับติดใบพืช สารช่วยป้องกันกำจัดโรคพืชที่สำคัญบางชนิด เช่นโรคเน่าดำ โรคเน่าเข้าไส้ของกล้วยไม้สามารถช่วยลดการระบาดของโรคได้เป็นอย่างดี สารที่ออกฤทธิ์เป็นปุ๋ยน้ำสูตร 3-17-0 สำหรับใช้เพื่อเสริมสร้างรากและเร่งการออกดอกของกล้วยไม้ ปัญหาการใช้สารกำจัดศัตรูพืชได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ สารเคมีเกษตรส่วนใหญ่จะออกฤทธิ์ได้ดีในสารละลายที่เป็นกรดอ่อนๆและจะเสื่อมฤทธิ์อย่างรวดเร็วเมื่อในสารละลายที่เป็นด่าง ดังนั้นการใช้น้ำที่เป็นด่าง น้ำที่มีเกลือแร่เจือปนหรือมีตะกอนดิน จะทำให้ฤทธิ์ยาเสื่อมสภาพลง ไซโฟเวอร์ช่วยปรับสภาพน้ำให้มีระดับความเป็นกรดอยู่ที่ระดับ pH 4.5-5.5 ซึ่งเป็นระดับที่เหมาะสมสำหรับนำไปใช้ผสมกับสารกำจัดศัตรูพืชโดยทั่วไป อัตราการใช้ของไซโฟเวอร์จะขึ้นอยู่กับระดับความเป็นด่างของน้ำ ถ้าน้ำเป็นด่างจัดก็ต้องใช้ในอัตราสูง ถ้าน้ำเป็นด่างอ่อนก็ใช้ในอัตราต่ำ จึงใช้วิธีหยดไซโฟเวอร์ลงไปในน้ำ แล้วดูการเปลี่ยนแปลงของสี ถ้าน้ำเริ่มเปลี่ยนสีเป็นสีชมพูอ่อนๆก็แสดงว่าเหมาะสมสำหรับนำไปใช้ได้แล้ว ถ้าต้องการปรับสภาพน้ำที่มีระดับความเป็นด่างที่ pH 8 ให้มาสู่ระดับน้ำที่ pH 6.5 จะต้องใช้ ไซโฟเวอร์ ในอัตรา 90-100 ซีซีต่อน้ำ 100 ลิตร อัตราและวิธีใช้ ถ้าต้องการผสมด้วยน้ำ 20…