โรคพืชกล้วยไม้ : ปัญหาโรคศัตรูพืชกล้วยไม้ที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย
ปัญหาโรคศัตรูพืชกล้วยไม้ที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย โรคกลีบดอกไหม้ของกล้วยไม้สกุลมอคคารา โรคใบจุดและโรคเน่าในกล้วยไม้สกุลออนซิเดียม โรคลำต้นเน่าในกล้วยไม้สกุลแกรมมะโตฟิลลัม โรคเน่าเละในกล้วยไม้สกุลฟาเลนนอฟซิส การป้องกันกำจัดโรคศัตรูกล้วยไม้ที่มีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรียโดยการใช้สารเคมีเกษตร ชาวสวนกล้วยไม้ใช้สาร เจนต้าไมซินซัลเฟต (gentamycin sulfate) ผสมออกซี่เตตร้าไซคลินไฮโดรคลอไรด์ (oxytetracycline hydrochloride) สามารถป้องกันกำจัดได้ในระดับหนึ่ง แต่การใช้ซ้ำๆกันหลายครั้งทำให้เกิดอาการดื้อยาได้ง่ายหรือการใช้ในอัตราความเข้มข้นสูงอาจทำให้กล้วยไม้เกิดอาการเป็นพิษกลายเป็นสีเหลืองซีดขาวโดยเฉพาะกล้วยไม้สกุลแวนด้าและเอสโคเซนด้า อีกทั้งยังมีต้นทุนที่สูงอีกด้วย ผลิตภัณฑ์แนะนำ ไอโรเน่ ดับบลิวจี อัตราและวิธีใช้ การแช่หน่อพันธุ์ลำลูกกล้วยด้วย “ไอโรเน่ ดับบลิวจี” ในอัตรา 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ก่อนนำไปปลูกจะช่วยลดการระบาดของโรคกล้วยไม้ที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย จะช่วยลดการเกิดโรคได้ในระดับหนึ่ง และภายหลังปลูกหากพ่นด้วย “ไอโรเน่ ดับบลิวจี” ในอัตราเดียวกันคือ 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตรจะช่วยให้การควบคุมโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียมีประสิทธิภาพมากขึ้น รายละเอียด โรคพืชกล้วยไม้ โรคใบไหม้ โรคเกสรดำ กลีบดอกไหม้ โรคเน่าแห้งหรือโรคราเม็ดผักกาดในกล้วยไม้หลายสกุล โรคเน่าดำหรือยอดเน่าหรือบางครั้งเรียกโรคเน่าเข้าไส้ โรคดอกสนิมหรือจุดสนิม โรคใบปื้นเหลือง โรคใบจุดฟิลลอสติคติน่าโรคใบขี้กลาก ปัญหาโรคศัตรูพืชกล้วยไม้ที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย