โรคราน้ำค้างในข้าวโพด

<h2 style=”text-align: center;”><span style=”color: #008000;”><strong>โรคราน้ำค้างในข้าวโพด</strong></span></h2> โรคราน้ำค้างของข้าวโพดเกิดจากราสาเหตุที่เป็นราชั้นต่ำกลุ่มราน้ำ  รานี้มีสปอร์ลักษณะใส ชอบอากาศเย็น ประมาณ 22-25 องศาเซลเชียส และความชื้นสูง ข้าวโพดที่อ่อนแอต่อโรคนี้ได้แก่ข้าวโพดหวานและข้าวโพดฝักอ่อน ราสาเหตุผลิตสปอร์ได้ทั้งด้านบนใบและใต้ใบช่วงเวลาเช้า ประมาณ ตีสามถึง ตีห้าก่อนแพร่ระบาดออกไปกับละอองหมอก ไปยังต้นข้าวโพดปกติที่อายุน้อยกว่า 1 เดือน การระบาดเกิดได้ดีโดยเฉพาะการปลูกข้าวโพดในพื้นที่หุบเขาที่มีอากาศเย็น น้ำค้างแรง และมีหมอกปกคลุมในหุบเขาเป็นเวลานาน เมื่อสปอร์งอกเข้าสู่ใบพืชจะสร้างเส้นใยในผิวใบอย่างรวดเร็วไปตามความยาวของใบ จึงเห็นอาการเป็นแถบสีอ่อนสลับสีเขียวปกติของใบ หากอาการรุนแรงรอยแผลสีซีดจะมีขนาดใหญ่ใบตามแผ่นใบในกรวยใบ เมื่อราสาเหตุใช้อาหารใบใบหมด จะทำให้ใบเปลี่ยนสีเป็นสีเหลืองและสีน้ำตาล ต้นข้าวโพดไม่เจริญเติบโต ลำต้นเตี้ยแคระ ข้อไม่ขยาย ไม่ออกดอก และไม่ออกฝัก หากอาการบนใบไม่รุนแรงข้าวโพดอาจออกฝัก และจะได้ฝัก บิดเบี้ยว ไม่สมบูรณ์ ไม่ติดเมล็ด หรือติดเมล็ดเล็กน้อย เมื่อข้าวโพดได้รับเชื้อสาเหตุแล้ว ต้นที่เป็นโรคจะไม่สามารถรักษาให้เป็นปกติได้  แต่ยังสามารถผลิต ราสาเหตุเพื่อการระบาดได้ต่อไปในแปลงปลูก ราสาเหตุที่ติดมากับเมล็ดจะเข้าลาย โดยอยู่อาศัยในต้นข้าวโพดตั้งแต่เริ่มงอก จนถึงแสดงอาการใบสีซีด ใช้เวลาประมาณ 10 – 14 วัน สปอร์ที่ผลิตขึ้นจะแพร่ระบาดไปยังข้าวโพดที่อายุต่ำกว่า 1 เดือน ถึง…

โรคแคงเกอร์ของส้มโอ

ปัจจุบันส้มโอเป็นพืชเศรษฐกิจที่ทำรายได้ดีมาก โดยเฉพาะสวนส้มโอที่ผลิตเพื่อการส่งออก  แต่ปัญหาศัตรูพืชที่เป็นเรื่องใหญ่คือโรคแคงเกอร์ ซึ่งเป็นโรคพืชกักกันในหลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศในยุโรป และออสเตรเลีย  และเนื่องด้วยสถานะการณ์การระบาดของโรคไข้โควิด – 19 จึงส่งผลพวงมายังการค้า การส่งออก อีกทั้งการขาดแรงงานที่เป็นปัจจัยหลักของการทำสวนผลไม้ จึงทำให้โรคแคงเกอร์ของส้มโอทวีความรุนแรงมากขึ้นไปอีก ปัจจัยอื่นๆ นอกเหนือจากการขาดแรงงาน และปัญหาการตลาด ก็คือ การลดมาตรการควบคุมโรคพื้นฐาน ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งต่อการรักษาสวนผลไม้ให้คงอยู่ และประคับประคองไปจนกว่าสถานะการณ์ภายนอกจะคลี่คลายลง สาเหตุ โรคแคงเกอร์ของส้มโอ มีสาเหตุจากแบคทีเรียชนิดเดียวกับส้มและมะนาว และพืชตระกูลส้มอีกหลายชนิด  นั่นคือ แบคทีเรีย แซนโทโมแนส ซิไตร ซิไตร ที่ชอบอากาศร้อนชื้น ลักษณะอาการ ลักษณะอาการของโรค แบคทีเรียสาเหตุทำให้เกิดรอยแผลเป็นขุยสีสนิมบน ใบอ่อน กิ่งอ่อน ยอดอ่อน และผล แบคทีเรียใช้เวลานานประมาณ 7-10 วัน  จึงจะแสดงอาการให้เห็น  ผลส้มจะอ่อนแอต่อการเข้าทำลายในช่วง 2 เดือนแรก ตั้งแต่เริ่มผสมเกสร ช่วงเวลาเริ่มระบาดจะตั้งต้นเมื่อเริ่มย่างฤดูฝน ในขณะที่ส้มโอแตกยอดใหม่ และมีฝนต้นฤดูโปรายปรายลงมา ช่วงที่ระบาดสูงสุดคือช่วงกลางฤดูฝน และลดโรคจะลดลงเมื่อ ฝนทิ้งช่วง หรือหมดฤดูฝนนั่นเอง อาการที่พบบนใบ เป็นจุดนูนสีเหลือง ฉ่ำน้ำ…

การบำรุงดูแลทุเรียน : เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู)

เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ต้องพิจารณาถึงความพร้อมต่อการออกดอกด้วย สภาพที่เหมาะสมที่ควรสังเกตคือ     เมื่อใบแก่มีความพร้อมต่อการออกดอก     สภาพของดินจะต้องมีการระบายน้ำได้ดีหรือจะต้องมีร่องน้ำสำหรับการะบายน้ำออกไม่ควรมีน้ำท่วมขัง     ปริมาณน้ำฝนจะต้องลดลงหรือจะต้องมีช่วงฝนทิ้งช่วงประมาณ 1 เดือนและก่อนเปิดตาดอกจะต้องปลอดฝนอย่างน้อย 5-7 วัน     หากใช้สารเอราบิวทราซอล 15 ดับบลิวพีให้สังเกตภายหลังจากพ่นสารแล้ว 6-8 สัปดาห์ และมีช่วงกระทบแล้งอย่างน้อย 5-7 วันก็เหมาะสมสำหรับการดึงตาดอก   ผลิตภัณฑ์แนะนำ เซ็ท 46 อัตรา 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร อัลก้า อัตรา 30 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ไซโฟเฟอร์ท 6-10-32 อัตรา 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ไซโฟแคล อัตรา 10…

การบำรุงดูแลทุเรียน : ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก

ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก เพื่อการผลิตทุเรียนก่อนฤดู ก่อนการใช้สาร จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเตรียมสภาพต้นให้มีความสมบูรณ์พร้อมมากที่สุด ควรพ่นกับใบชุดใหม่ในช่วงเป็นใบเพสลาด   ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราทราซอล 15 ดับบลิวพี ใช้วิธีพ่นทางใบในอัตรา 135-200 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เอราสติกซ์  อัตรา 5 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร ควรฉีดพ่นให้โดนกิ่งอ่อนมากที่สุด พ่นให้ทั่วทั้งภายในและภายนอกทรงพุ่ม หากสังเกตเห็นยอดอ่อนยังพุ่งอยู่ให้พ่นซ้ำอีกครั้งในอัตรา 65-85 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ผสมเอราสติ๊ก อัตรา 5 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร   สำหรับทุเรียนที่ใช้สารเอราบิวทราซอล15 ดับบลิวพี ควรบำรุงใบทุเรียนเพื่อการสะสมอาหารอย่างสมบูรณ์ ซีเนอกอน 2000  อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ซิ้งค์พาสส์ อัตรา 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร การบำรุงดูแลทุเรียน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว…

การบำรุงดูแลทุเรียน : ระยะใบเพสลาด

ระยะใบเพสลาด สะสมอาหารก่อนการออกดอก เพื่อให้มีสารอาหารที่เพียงพอต่อการออกดอก ผลิตภัณฑ์แนะนำ ปุ๋ยเกร็ดไซโฟเฟอร์ท 9-48-14 อัตรา 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ซีเนอกอน 2000 อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ซิ้งค์พาสส์ อัตรา 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร การบำรุงดูแลทุเรียน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว แตกใบอ่อน ระยะใบเพสลาด ระยะสะสมอาหารก่อนออกดอก เปิดตาดอกทุเรียน (ไข่ปลา-ตาปู) ระยะเหยียดตีนหนู บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง ช่วยผสมเกสรในระยะก่อนดอกบาน เพิ่มการติดผลในระยะหางแย้และระยะขึ้นหนาม การบำรุงผลอ่อนทุเรียน การบำรุงในช่วงพัฒนาการของผล เพิ่มขนาดของผลและคุณภาพผล เสริมสร้างคุณภาพเนื้อผล การสุกของผลเร่งการเข้าสีเนื้อผลและสีผิวผล บ่มทุเรียนเพื่อเร่งการสุกของผล

การบำรุงดูแลทุเรียน : แตกใบอ่อน

แตกใบอ่อน กระตุ้นการแตกใบอ่อน ทุเรียนมีความจำเป็นจะต้องใช้ใบรุ่นใหม่อย่างน้อย 2-3 รุ่นสำหรับเสริมสร้างอาหารเพื่อความสมบูรณ์พร้อม และช่วยฟื้นฟูสภาพต้นที่ทรุดโทรมให้กลับคืนสู่ความสมบูรณ์ได้อย่างรวดเร็ว ผลิตภัณฑ์แนะนำ ปุ๋ยเกร็ดไซโฟเฟอร์ท 30-12-8 อัตรา 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร อัลก้า อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร จิบเบอร์โซล อัตรา 2 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เร่งให้ใบอ่อนแก่เร็ว เพื่อให้การสร้างใบรุ่นใหม่มีความพร้อมเร็วกว่าปกติ ผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมคือ ผลิตภัณฑ์แนะนำ ซีเนอกอน 2000 อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร มักเนเซี่ยมพาสส์ อัตรา 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร คูวาส อัตรา 5 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร…

การบำรุงดูแลทุเรียน : ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว

ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว สารอาหารสำหรับใช้ทางดิน ผลิตภัณฑ์แนะนำ ท๊อปเอ็น (Top N) นวัตกรรมใหม่ สำหรับการบำรุงพืช ช่วยปรับปรุงดิน ประโยชน์     ช่วยปรับปรุงดิน     กระตุ้นการเจริญเติบโตของราก     เพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิต รายละเอียด นวัตกรรมใหม่ สำหรับการบำรุงพืช ช่วยปรับปรุงดิน กระตุ้นการเจริญเติบโตของราก กระตุ้นการแตกใบอ่อน ใบเขียวเข้ม เพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตให้กับพืช สารอินทรีย์ชนิดเม็ดสำหรับใช้กับพืชทางดิน ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปนำเข้ามาจาก บริษัท Cifo Srl ประเทศอิตาลี เป็นสารอินทรีย์ชนิดเม็ดภายใต้นวัตกรรมใหม่สำหรับใช้เป็นสารกระตุ้นทางชีวภาพ ซึ่งประกอบด้วย สารไฮโดรไลซ์ จีเลติน (Hydrolyzed Gelatin) สำหรับนำไปใช้เพื่อเป็นประโยชน์สำหรับพืช ด้วยกระบวนการผลิต FCH (Fully Controlled Hydrolysis) เป็นกระบวนการไฮโดรไลซิสผ่านความร้อนโดยสมบูรณ์ มีการย่อยสลาย Collagen  ควบคุมเวลา ความดัน ปริมาณน้ำ ความชื้น อุณหภูมิ ไม่ให้สูงมาก และทำให้สะอาด…

การใช้สารกำจัดวัชพืชในสวนส้ม

การใช้สารกำจัดวัชพืชในสวนส้ม ผลิตภัณฑ์แนะนำ กำจัดด้วย เอราบาส กำจัดวัชพืชทั้งใบแคบและใบกว้างมีความปลอดภัยในสวนส้มให้ใช้ เอราบาส ในอัตรา 200 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เอราบาส นับว่าเป็นสารกำจัดวัชพืชที่มีความปลอดภัยในสวนส้ม จากคุณสมบัติที่ไม่สามารถดูดซึมเข้าทางรากและมีการเคลื่อนย้ายอยู่ในพืชได้น้อยออกฤทธิ์แบบสัมผัสได้ดีทำให้การตายของวัชพืชจะแห้งตายได้อย่างรวดเร็วและตายนานอีกทั้งยังมีคุณสมบัติในการกำจัดวัชพืชได้ดีทั้งใบแคบและใบกว้าง (จึงไม่จำเป็นต้องใช้สาร 2,4-D ในแปลงไม้ผล ซึ่งมีผลกระทบต่อใบส้ม ที่มักทำให้เกิดอาการใบม้วนบิดงอ ใบมีขนาดเล็กลง) การใช้สารปรับสภาพน้ำ ไซโฟเวอร์ สารกำจัดศัตรูพืชส่วนใหญ่จะมีช่วงอายุการออกฤทธิ์ที่มีความเจาะจงเฉพาะตัว การนำไปใช้ผสมกับน้ำที่มีฤทธิ์เป็นด่างหรือน้ำที่มีปริมาณของไบคาร์โบเนท จะทำให้สารกำจัดศัตรูพืชเสื่อมสลายตัวได้ง่ายจนกระทั่งหมดฤทธิ์ไป    ทำให้การนำไปใช้ผสมกับสารกำจัดศัตรูพืชได้ผลไม่ดีเท่าที่ควร ไซโฟเวอร์ ช่วยปรับสภาพน้ำที่เป็นด่างให้กลายมาเป็นกรดที่เหมาะสม สำหรับนำไปใช้ผสมกับสารกำจัดศัตรูพืชโดยทั่วไปได้เป็นอย่างดี อัตราการใช้  ไซโฟเวอร์ ขึ้นอยู่กับระดับความเป็นด่างของน้ำและปริมาณการเจือปนของสารไบคาร์โบเนทเป็นหลัก ซึ่งอัตราการใช้ที่เหมาะสมให้สังเกตการเปลี่ยนแปลงสีของน้ำ ถ้าสีของน้ำเริ่มเปลี่ยนเป็นสีแดงแสดงว่าน้ำได้ถูกปรับจนกระทั่งมีความเป็นกรดที่เหมาะสมสำหรับนำไปผสมกับสารกำจัดศัตรูพืชได้แล้ว ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการปรับสภาพน้ำที่มีระดับความเป็นด่างที่ pH 8 ให้มาสู่ระดับน้ำที่ pH 6.5 จะต้องใช้ ไซโฟเวอร์ ในอัตรา  90-100 ซีซีต่อน้ำ 100 ลิตร   ข้อแนะนำสำหรับการใช้ ไซโฟเวอร์ในการปรับสภาพน้ำ ถ้าต้องการผสมด้วยน้ำ 20…

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูส้ม

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูส้ม เพลี้ยไฟพริก(Chili thrips, Yellow tea thrips : Scirtothrips doesalis) เพลี้ยอ่อนส้มอมเขียว(Green citrus aphis, spireaaphis : Aphis spiraecola) เพลี้ยอ่อนส้มสีน้ำตาล(Brown citrus aphid, Black citrus aphid : Toxoptera citricida) เพลี้ยอ่อนส้มสีดำ(Black citrus aphid : Toxoptera aurantii) แมลงหวี่ขาวส้ม(Citrus whitefly : Dialeurodes citri) แมลงหวี่ดำส้ม(Citrus blackfly : Aleurocanthus woglumi) เพลี้ยไก่แจ้ส้ม(Asian citrus psyllid : Diaphorina citri) ผลิตภัณฑ์แนะนำ กำจัดด้วย เอราทริน 2.5 อีซี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20…

การใช้สารป้องกันกำจัดโรคศัตรูส้ม

การใช้สารป้องกันกำจัดโรคศัตรูส้ม โรครากเน่าโคนเน่า (Root rot and Foot  rot : Phytophthora  parasitica) แปลงปลูกส้มต้องมีการระบายน้ำดีและป้องกันน้ำท่วมขังโคนต้นและแปลงเพาะปลูก เชื้อชนิดนี้จะพักตัวอยู่ในดินในรูปของคลาไมโดสปอร์ (Chlamydospores) พักตัวอยู่ในดินได้นานเป็นปีๆ เมื่อสภาวะเหมาะสมหรือเมื่อมีความชื้นมีน้ำก็จะงอกออกมาเป็นเส้นใย สร้างส่วนขยายพันธุ์ที่เรียกว่า สปอร์แรงเจี่ยม (sporangium) ที่มีสปอร์ที่มีหางอยู่ภายในที่เรียกว่าซูโอสปอร์ (Zoospores)  เมื่อแตกออกมาก็จะเคลื่อนที่ไปตามน้ำเข้าทำลายระบบรากของส้ม ซึ่งอาจจะแพร่กระจายติดไปกับดินปลูกและกิ่งพันธุ์ได้ เชื้อชนิดนี้สามารถเข้าทำลายระบบราก ลำต้น กิ่ง ใบและผลส้มได้ โดยเฉพาะเมื่อเริ่มติดผลอ่อนจนกระทั่งผลแก่ โดยติดเชื้อจากความชื้นจากการไหล ชะล้างและแรงกระแทกจากน้ำฝน ต้นส้มมีอาการใบเหลืองและร่วงหล่นและไม่แตกใบใหม่ โคนต้นมีอาการเน่าสีน้ำตาล รากเน่าสีดำคล้ำ ผลิตภัณฑ์แนะนำ ป้องกันกำจัดด้วย วิธีการทาแผลที่เป็นโรค ถากหรือขูดแผลที่เน่าออกให้หมด และขูดเปลือกเนื้อไม้รอบๆแผลซึ่งเป็นเนื้อไม้ดีออกกว้างประมาณ 3 นิ้ว แล้วใช้ เรนแมน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 1 ลิตร ทาตามบริเวณรอยถากแล้วพ่นทางใบด้วย เรนแมน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร…