โรคราน้ำค้างในข้าวโพด

<h2 style=”text-align: center;”><span style=”color: #008000;”><strong>โรคราน้ำค้างในข้าวโพด</strong></span></h2> โรคราน้ำค้างของข้าวโพดเกิดจากราสาเหตุที่เป็นราชั้นต่ำกลุ่มราน้ำ  รานี้มีสปอร์ลักษณะใส ชอบอากาศเย็น ประมาณ 22-25 องศาเซลเชียส และความชื้นสูง ข้าวโพดที่อ่อนแอต่อโรคนี้ได้แก่ข้าวโพดหวานและข้าวโพดฝักอ่อน ราสาเหตุผลิตสปอร์ได้ทั้งด้านบนใบและใต้ใบช่วงเวลาเช้า ประมาณ ตีสามถึง ตีห้าก่อนแพร่ระบาดออกไปกับละอองหมอก ไปยังต้นข้าวโพดปกติที่อายุน้อยกว่า 1 เดือน การระบาดเกิดได้ดีโดยเฉพาะการปลูกข้าวโพดในพื้นที่หุบเขาที่มีอากาศเย็น น้ำค้างแรง และมีหมอกปกคลุมในหุบเขาเป็นเวลานาน เมื่อสปอร์งอกเข้าสู่ใบพืชจะสร้างเส้นใยในผิวใบอย่างรวดเร็วไปตามความยาวของใบ จึงเห็นอาการเป็นแถบสีอ่อนสลับสีเขียวปกติของใบ หากอาการรุนแรงรอยแผลสีซีดจะมีขนาดใหญ่ใบตามแผ่นใบในกรวยใบ เมื่อราสาเหตุใช้อาหารใบใบหมด จะทำให้ใบเปลี่ยนสีเป็นสีเหลืองและสีน้ำตาล ต้นข้าวโพดไม่เจริญเติบโต ลำต้นเตี้ยแคระ ข้อไม่ขยาย ไม่ออกดอก และไม่ออกฝัก หากอาการบนใบไม่รุนแรงข้าวโพดอาจออกฝัก และจะได้ฝัก บิดเบี้ยว ไม่สมบูรณ์ ไม่ติดเมล็ด หรือติดเมล็ดเล็กน้อย เมื่อข้าวโพดได้รับเชื้อสาเหตุแล้ว ต้นที่เป็นโรคจะไม่สามารถรักษาให้เป็นปกติได้  แต่ยังสามารถผลิต ราสาเหตุเพื่อการระบาดได้ต่อไปในแปลงปลูก ราสาเหตุที่ติดมากับเมล็ดจะเข้าลาย โดยอยู่อาศัยในต้นข้าวโพดตั้งแต่เริ่มงอก จนถึงแสดงอาการใบสีซีด ใช้เวลาประมาณ 10 – 14 วัน สปอร์ที่ผลิตขึ้นจะแพร่ระบาดไปยังข้าวโพดที่อายุต่ำกว่า 1 เดือน ถึง…

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูส้ม

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูส้ม เพลี้ยไฟพริก(Chili thrips, Yellow tea thrips : Scirtothrips doesalis) เพลี้ยอ่อนส้มอมเขียว(Green citrus aphis, spireaaphis : Aphis spiraecola) เพลี้ยอ่อนส้มสีน้ำตาล(Brown citrus aphid, Black citrus aphid : Toxoptera citricida) เพลี้ยอ่อนส้มสีดำ(Black citrus aphid : Toxoptera aurantii) แมลงหวี่ขาวส้ม(Citrus whitefly : Dialeurodes citri) แมลงหวี่ดำส้ม(Citrus blackfly : Aleurocanthus woglumi) เพลี้ยไก่แจ้ส้ม(Asian citrus psyllid : Diaphorina citri) ผลิตภัณฑ์แนะนำ กำจัดด้วย เอราทริน 2.5 อีซี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20…

การใช้สารกำจัดวัชพืชในสวนลำไย

การใช้สารกำจัดวัชพืชในสวนลำไย ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราบาส กำจัดวัชพืชทั้งใบแคบและใบกว้างมีความปลอดภัยในสวนลำไย ให้ใช้ เอราบาส ในอัตรา 150 – 200 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เอราบาส นับว่าเป็นสารกำจัดวัชพืชที่มีความปลอดภัยในสวนลำไย จากคุณสมบัติที่ไม่สามารถดูดซึมเข้าทางรากและมีการเคลื่อนย้ายอยู่ในพืชได้น้อยออกฤทธิ์แบบสัมผัสได้ดีทำให้การตายของวัชพืชจะแห้งตายได้อย่างรวดเร็วและตายนานอีกทั้งยังมีคุณสมบัติในการกำจัดวัชพืชได้ดีทั้งใบแคบและใบกว้าง (จึงไม่จำเป็นต้องใช้สาร 2,4-D ในแปลงไม้ผลซึ่งมีผลกระทบต่อใบลำไยที่มักทำให้เกิดอาการใบม้วนบิดงอ ใบมีขนาดเล็กลง) การใช้สารปรับสภาพน้ำ ไซโฟเวอร์ สารกำจัดศัตรูพืชส่วนใหญ่จะมีช่วงอายุการออกฤทธิ์ที่มีความเจาะจงเฉพาะตัว การนำไปใช้ผสมกับน้ำที่มีฤทธิ์เป็นด่างหรือน้ำที่มีปริมาณของไบคาร์โบเนท จะทำให้สารกำจัดศัตรูพืชเสื่อมสลายตัวได้ง่ายจนกระทั่งหมดฤทธิ์ไป ทำให้การนำไปใช้ผสมกับสารกำจัดศัตรูพืชได้ผลไม่ดีเท่าที่ควร ไซโฟเวอร์ ช่วยปรับสภาพน้ำที่เป็นด่างให้กลายมาเป็นกรดที่เหมาะสมสำหรับนำไปใช้ผสมกับสารกำจัดศัตรูพืชโดยทั่วไปได้เป็นอย่างดี อัตราการใช้  ไซโฟเวอร์ ขึ้นอยู่กับระดับความเป็นด่างของน้ำและปริมาณการเจือปนของสารไบคาร์โบเนทเป็นหลัก ซึ่งอัตราการใช้ที่เหมาะสมให้สังเกตการเปลี่ยนแปลงสีของน้ำ ถ้าสีของน้ำเริ่มเปลี่ยนเป็นสีแดงแสดงว่าน้ำได้ถูกปรับจนกระทั่งมีความเป็นกรดที่เหมาะสมสำหรับนำไปผสมกับสารกำจัดศัตรูพืชได้แล้ว ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการปรับสภาพน้ำที่มีระดับความเป็นด่างที่ pH 8 ให้มาสู่ระดับน้ำที่ pH 6.5 จะต้องใช้ ไซโฟเวอร์ ในอัตรา 90-100 ซีซีต่อน้ำ 100 ลิตร ข้อแนะนำสำหรับการใช้ ไซโฟเวอร์ในการปรับสภาพน้ำ ถ้าต้องการผสมด้วยน้ำ 20 ลิตร ใส่ ไซโฟเวอร์…

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูลำไย

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูลำไย แมลงศัตรูลำไยที่สำคัญในช่วงแตกใบอ่อนและใบแก่ หนอนกินใบลำไย (Leaf eating caterpillar : Oxydesscro biculata) หนอนคืบละหุ่ง (Castor large semi-looper : Achaea Janata) หนอนคืบเขียวลำไย (Green longanlooper : Orothalassodes falsaria) หนอนมังกรหางพู่หรือหนอนหนาม (Large dragontailedcaterpillar : Dudusas ynopla) ผลิตภัณฑ์แนะนำ กำจัดด้วย เอรามิลิน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอรานูฟอส อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราโพรทริน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 40 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราทริน 2.5 อีซี อัตราและวิธีใช้…

การใช้สารป้องกันกำจัดโรคศัตรูลำไย

การใช้สารป้องกันกำจัดโรคศัตรูลำไย โรคราน้ำฝน, โรคใบไหม้ และผลร่วงของลำไย (Phytophthora foliage blight and fruit rot : Phytophthora palmivora) พบระบาดมากในบางพื้นที่และบางฤดูกาลการเพาะปลูก เชื้อชนิดนี้จะพักตัวอยู่ในดินในรูปของคลาไมโดสปอร์ (Chlamydospores) พักตัวอยู่ในดินได้นานเป็นปีๆ เมื่อสภาวะเหมาะสมหรือเมื่อมีความชื้นมีน้ำก็จะงอกออกมาเป็นเส้นใย สร้างส่วนขยายพันธุ์ที่เรียกว่าสปอร์แรงเจียม(sporangium) ที่มีสปอร์ที่มีหางอยู่ภายในที่เรียกว่าซูโอสปอร์ (Zoospores) เมื่อแตกออกมาก็จะเคลื่อนที่ไปตามน้ำเข้าทำลายระบบรากของลำไย ซึ่งอาจจะแพร่กระจายติดไปกับดินปลูกและกิ่งพันธุ์ได้ เชื้อชนิดนี้สามารถเข้าทำลายระบบราก ลำต้น กิ่ง ใบและผลลำไยได้ โดยเฉพาะเมื่อเริ่มติดผลอ่อนจนกระทั่งผลแก่ โดยติดเชื้อจากความชื้นจากการไหล ชะล้างและแรงกระแทกจากน้ำฝน โรคผลเน่าสีน้ำตาล (Brown fruit rot) ผลิตภัณฑ์แนะนำ ป้องกันกำจัดด้วย เรนแมน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราฟอสทิล อัตราและวิธีใช้ อัตรา 100 กรัมผสมน้ำ 20 ลิตร พ่นให้ทั่วใบและลำต้นเดือนละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 3…

การบำรุงลำไย

การบำรุงลำไย การบำรุง ทางเลือกใหม่สำหรับธาตุอาหารในรูปปุ๋ยทางดิน ฟื้นต้นหลังเก็บเกี่ยว ผลิตภัณฑ์แนะนำ ท็อป-เอ็น (TOP N) นวัตกรรมใหม่ สำหรับการบำรุงพืช ช่วยปรับปรุงดิน อัตรา 300 – 500 กรัม/ต้น ประโยชน์ ช่วยปรับปรุงดิน สารช่วยเสริมสร้างราก สารช่วยเร่งขยายขนาดของผล สำหรับให้ลำใยทางดิน นวัตกรรมใหม่ สำหรับการบำรุงพืช ช่วยปรับปรุงดิน กระตุ้นการเจริญเติบโตของราก กระตุ้นการแตกใบอ่อน ใบเขียวเข้ม เพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตให้กับพืช  สารอินทรีย์ชนิดเม็ดสำหรับใช้กับพืชทางดิน ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปนำเข้ามาจาก บริษัท Cifo Srl ประเทศอิตาลี เป็นสารอินทรีย์ชนิดเม็ดภายใต้นวัตกรรมใหม่สำหรับใช้เป็นสารกระตุ้นทางชีวภาพ ซึ่งประกอบด้วย สารไฮโดรไลซ์ จีเลติน (Hydrolyzed Gelatin) สำหรับนำไปใช้เพื่อเป็นประโยชน์สำหรับพืช ด้วยกระบวนการผลิต FCH (Fully Controlled Hydrolysis) เป็นกระบวนการไฮโดรไลซิสผ่านความร้อนโดยสมบูรณ์    มีการย่อยสลาย Collagen  ควบคุมเวลา ความดัน ปริมาณน้ำ ความชื้น อุณหภูมิ…

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูมะม่วง

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูมะม่วง เพลี้ยจักจั่นมะม่วง เพลี้ยจักจั่นช่อมะม่วง แมงกะอ้า  เพลี้ยจักจั่นมะม่วงปากดำ (Black lipped mango hopper : Idioscopus  clypealis) เพลี้ยจั๊กจั่นมะม่วงลาย(Striped mango hopper : Idioscopus  niveosparsus) เพลี้ยไฟมะม่วง(Mango thrips : Rhipiphorothrips  cruentatus) เพลี้ยไฟพริก(Chili thrips : Scirtothrips  doesalis) เพลี้ยอ่อนมะม่วง(Mango aphid : Toxoptera  odinae) เพลี้ยกระโดดปีกหุบขาว(White moth cicacda : Lawana  conspersa) เพลี้ยไก่แจ้มะม่วง (Psyllids) ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราทริน 2.5 อีซี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราทริป 5 เอสซี อัตราและวิธีใช้…

การบำรุงมะม่วง

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตมะม่วง การบำรุงมะม่วง ผลิตภัณฑ์แนะนำ ท็อป-เอ็น (TOP N) นวัตกรรมใหม่ สำหรับการบำรุงพืช ช่วยปรับปรุงดิน ประโยชน์ ช่วยปรับปรุงดิน สารช่วยเสริมสร้างราก สารช่วยเร่งขยายขนาดของผล สำหรับให้มะม่วงทางดิน   นวัตกรรมใหม่ สำหรับการบำรุงพืช ช่วยปรับปรุงดิน กระตุ้นการเจริญเติบโตของราก กระตุ้นการแตกใบอ่อน ใบเขียวเข้ม เพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตให้กับพืช  สารอินทรีย์ชนิดเม็ดสำหรับใช้กับพืชทางดิน ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปนำเข้ามาจาก บริษัท Cifo Srl ประเทศอิตาลี เป็นสารอินทรีย์ชนิดเม็ดภายใต้นวัตกรรมใหม่สำหรับใช้เป็นสารกระตุ้นทางชีวภาพ ซึ่งประกอบด้วย สารไฮโดรไลซ์ จีเลติน (Hydrolyzed Gelatin) สำหรับนำไปใช้เพื่อเป็นประโยชน์สำหรับพืช ด้วยกระบวนการผลิต FCH (Fully Controlled Hydrolysis) เป็นกระบวนการไฮโดรไลซิสผ่านความร้อนโดยสมบูรณ์    มีการย่อยสลาย Collagen  ควบคุมเวลา ความดัน ปริมาณน้ำ ความชื้น อุณหภูมิ ไม่ให้สูงมาก และทำให้สะอาด มีการอบฆ่าเชื้อ  ปราศจากเชื้อโรค จนได้ Hydrolyzed…

การป้องกันกำจัดโรคศัตรูมะนาว

การป้องกันกำจัดโรคศัตรูมะนาว โรคแคงเคอร์ ระบาดเข้าทำลายได้ทุกส่วนของมะนาวทั้ง ใบ กิ่ง ลำต้นและผล เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งจะเข้าทำลายภายหลังจากเกิดรอยแผลจากการทำลายของ หนอนชอนใบ การป้องกันกำจัดโรคแคงเคอร์ จึงต้องระวังและคอยกำจัดหนอนชอนใบเมื่อพบการระบาด แล้วตัดแต่งส่วนที่เป็นโรคนำไปทำลายโดยการเผาทิ้ง เพื่อลดการระบาดโรค ผลิตภัณฑ์แนะนำ พ่นทางใบด้วย โปลติเกลีย อัตราและวิธีใช้ อัตรา 100 กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร โคปิน่า 85 ดับบลิวพี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 30 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ไอโรเน่ ดับบลิวจี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร เอราซูก้า อัตราและวิธีใช้ อัตรา 30 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร โรคยางไหล ทำให้เกิดอาการยางไหลออกมาจากลำต้นและกิ่ง เปลือกเน่าและแผลลุกลามไปถึงเนื้อไม้ การป้องกันกำจัดต้องทำให้โปร่งอากาศถ่ายเทได้สะดวก กำจัดวัชพืชภายในแปลงปลูกให้สะอาด ตัดแต่งกิ่งที่เป็นโรคด้วยการเผาทำลาย…