การกำจัดแมลงศัตรูมะเขือเทศ

การกำจัดแมลงศัตรูมะเขือเทศ แมลงหวี่ขาว เป็นพาหะของโรคใบหงิกเหลือง ที่เกิดจากเชื้อไวรัส ผลิตภัณฑ์แนะนำ กำจัดด้วย ภายหลังย้ายกล้าปลูกลงแปลงแล้ว พ่นป้องกันกำจัดด้วย เอราท็อกซ์ เอราท็อกซ์ 24 เอสซี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 4-8 กรัม/ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอรามิพริด อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เพื่อกำจัดทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ควรพ่นซ้ำภายใน 7-10 วัน หนอนแมลงวันชอนใบ ผลิตภัณฑ์แนะนำ กำจัดด้วย เอรามอล 83 อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอรามิพริด อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หนอนเจาะผล กำจัดด้วย เอรานูฟอส อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20…

การป้องกันกำจัดโรคศัตรูมะเขือเทศ

การป้องกันกำจัดโรคศัตรูมะเขือเทศ โรคกล้าเน่า โรคเน่าคอดิน พบกล้าเน่าภายหลังย้ายกล้าปลูกลงดิน ต้นหักพับในระดับผิวดิน เชื้อสาเหตุของโรคติดมากับเมล็ดพันธุ์ ดังนั้นก่อนเพาะเมล็ด ให้แช่เมล็ดในน้ำอุ่น 55 องศาเซลเซียส นาน 20 นาที ผลิตภัณฑ์แนะนำ ภายหลังย้ายกล้าปลูกลงแปลงแล้ว พ่นป้องกันกำจัดด้วย เรนแมน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 5 ซีซีต่อน้ำ 20ลิตร โรคโคนต้นเน่า โรคราเมล็ดผักกาด เกิดเป็นเม็ดสีน้ำตาล โดยมีขุยสีขาวปกคลุมอยู่บริเวณโคนต้น ทำให้โคนต้นเน่า ใบเหี่ยว ผลิตภัณฑ์แนะนำ ป้องกันกำจัดด้วย ฟราวไซด์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร โรคใบแห้ง โรคใบไหม้ ทำให้ใบแห้งเหี่ยวตาย ทำให้เกิดแผลสีน้ำตาลบนผล พบอาการผิวผลแตก เน่าและหลุดร่วงในที่สุด ผลิตภัณฑ์แนะนำ ป้องกันกำจัดด้วย เรนแมน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 5 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร แฟนติค เอ็ม อัตราและวิธีใช้…

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตมะเขือเทศ

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตมะเขือเทศ การบำรุง ควรเพาะปลูกในช่วงอากาศหนาวเย็น ในฤดูหนาว ที่มีอุณหภูมิในเวลากลางคืนไม่เกิน 22 องศาเซลเซียส เพื่อการติดผลที่ดี การให้ปุ๋ยทางดินมะเขือเทศ รองก้นหลุมก่อนย้ายกล้าปลูกลงแปลง ภายหลังเตรียมแปลงปลูกแล้วเสร็จ รองก้นหลุมก่อนย้ายกล้าลงแปลง ด้วยสารช่วยเร่งการเจริญเติบโต เสริมสร้างรากและช่วยเก็บกักน้ำในสภาวะแห้งแล้ง ผลิตภัณฑ์แนะนำ ท็อป-เอ็น ใช้คู่กับปุ๋ยเคมีสูตรเสมอ อัตรา 10 กรัมต่อหลุม ภายหลังย้ายกล้าปลูกลงแปลง หลังย้ายกล้าปลูก 7 วัน ผลิตภัณฑ์แนะนำ ท็อป-เอ็น อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 กรัมต่อหลุม ใช้คู่กับปุ๋ยเคมีสูตรหลังสูง อัตรา 15 กิโลกรัมต่อไร่ และเพื่อป้องกันการระบาดของแมลงหวี่ขาวที่เป็นพาหะของโรคไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคยอดหงิก ให้ราดทางดินภายหลังย้ายกล้าปลูกลงแปลง ด้วย เอราท็อกซ์ เอราท็อกซ์ 24 เอสซี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 64 กรัม/ซีซีต่อน้ำ 80 ลิตรต่อไร่ หลังย้ายกล้าปลูก 22 วัน ผลิตภัณฑ์แนะนำ ท็อป-เอ็น อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20…

การกำจัดแมลงศัตรูพริก

การกำจัดแมลงศัตรูพริกที่สำคัญ เพลี้ยไฟ เพลี้ยไฟดูดกินน้ำเลี้ยงตามใบและยอดอ่อน ทำให้ใบและยอดอ่อนหงิกงอ ขอใบมักม้วนงอขึ้น ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราคอน 70 ดับบลิวจี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20ลิตร เอราทริป-โกลด์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 2 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เพลี้ยอ่อน เพลี้ยอ่อน เป็นแมลงพาหะของเชื้อไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคใบด่างในพริก มักระบาดในช่วงอากาศแห้งแล้ง ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอรามิพริด อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ไรขาวพริก ดูดกินน้ำเลี้ยงใบที่ส่วนยอด  ทำให้หงิกงอม้วนใบลง ใบเล็กและหดสั้น ผลิตภัณฑ์แนะนำ เอราซัล 80 ดับบลิวจี อัตราและวิธีใช้ อัตรา 80 กรัมต่อน้ำ 20ลิตร ไมทาไซด์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20ลิตร เอราไมท์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา…

การป้องกันกำจัดโรคศัตรูพริก

การป้องกันกำจัดโรคศัตรูพริกที่สำคัญ โรคศัตรูพริกที่เกิดจากเชื้อรา โรคกล้าเน่า ทำให้ต้นกล้าแห้งเหี่ยวตาย ผลิตภัณฑ์แนะนำ เรนแมน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 5 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นทันทีภายหลังย้ายกล้าลงปลูกในแปลง โรคแอนแทรคโนส โรคกุ้งแห้งพริก ระบาดมากในช่วงผลสุก แก่จัด ทำให้ผลพริกยุบตัวลง แห้ง และหงิกงอ ผลิตภัณฑ์แนะนำ ฟราวไซด์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราคลอราซ 450 อัตราและวิธีใช้ อัตรา 30 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราสตาร์ 325 อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20ลิตร โรคยอดและดอกเน่า โรคพริกหัวโกร๋น ระบาดมากในช่วงที่มีฝนตกสลับแดดออก ยอดเน่าดำ ใบแห้งร่วงเฉพาะที่ยอด ผลิตภัณฑ์แนะนำ ฟราวไซด์ อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20ลิตร…