เพลี้ยไฟพริก แมลงศัตรูสุด Hot ในพริก

เพลี้ยไฟพริก แมลงศัตรูสุด Hot ในพริก ชื่อวิทยาศาสตร์ Scirtothrips dorsalis Hoods ลักษณะการทำลาย สภาพอากาศในช่วงนี้อากาศเย็นและมีหมอกในตอนเช้า แดดจัดในตอนกลางวัน เตือนผู้ปลูกพริกในทุกระยะการเจริญเติบโต ระวังเพลี้ยไฟพริก (Chilli Thrips) ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะเข้าทำลายโดยดูดกินน้ำเลี้ยงตามส่วนต่างๆ ยอดใบอ่อน ตาดอก และผล ทำให้ใบหรือยอดอ่อนหงิก ขอบใบหงิกหรือม้วนขึ้น ถ้าเข้าทำลายระยะพริกออกดอก จะทำให้ดอกพริกร่วงไม่ติดผล การทำลายในระยะผล จะทำให้รูปทรงของผลบิดเบี้ยวเสียรูป หากระบาดรุนแรงต้นพริกชะงักการเจริญเติบโตและแห้งตายมากกว่า 50% วิธีการป้องกันกำจัด • หมั่นสำรวจเพลี้ยไฟบริเวณใต้ใบหรือตามส่วนอ่อนๆของพืช ถ้าพบเพลี้ยไฟ 5 ตัวขึ้นไป/ยอด ควรพ่นสารกำจัด • ควรให้น้ำอย่างสม่ำเสมอ อย่าปล่อยให้พืชขาดน้ำ เพราะจะทำให้ พืชอ่อนแอ และเพลี้ยไฟพริกจะระบาดอย่างรวดเร็ว  ใช้สารป้องกันกำจัดโรคเมื่อพบการระบาด และควรพ่นสลับเพื่อป้องกันการดื้อยา ขณะพ่นสารควรปรับหัวฉีดให้เป็นฝอยที่สุด – สารกลุ่ม 4A+6 เซเรน อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 2…

แมลงบั่ว…ศัตรูร้าย ทำลายนาข้าว ช่วงข้าวแตกกอ

แมลงบั่ว ศัตรูร้ายทำลายนาข้าว ช่วงข้าวแตกกอ แมลงบั่ว มีชื่อวิทยาศาสตร์: Orseolia oryzae (Wood – Mason) เป็นศัตรูข้าวที่สำคัญ มักจะระบาดมากในระยะข้าวแตกกอ ในช่วงสภาพอากาศมีความชื้นและเย็นดังนั้น เกษตรกรจึงควรเร่งป้องกันการวางไข่และกำจัดตัวหนอนของแมลงบั่ว รูปร่างลักษณะ แมลงบั่วเพศผู้ ลำตัวมีสีน้ำตาลปนเหลือง ขนาดเล็กกว่าเพศเมีย เพศเมียจะมีสีชมพูอมส้มโดยวางเป็นฟองเดี่ยวๆ หรือเป็นกลุ่ม 3 – 4 ฟอง เพศเมีย 1 ตัว สามารถวางไข่ได้หลายร้อยฟองใน 4 วัน ระยะไข่ประมาณ3 – 4 วันตัวหนอนคล้ายหนอนแมลงวันหัวท้ายเรียว ระยะหนอนนาน 11 วัน ตัวหนอนที่ฟักจากไข่จะคลานตามบริเวณกาบใบเพื่อแทรกตัวเข้าไปในกาบใบ เข้าไปอาศัยกัดกินที่จุดตายอดหรือตาข้างที่ข้อ และจะสร้างหลอดหุ้มตัวหนอน ทำให้เกิดเป็นช่องกลวงที่เรียกว่า หลอดบั่วหรือหลอดหอม ลักษณะการเข้าทำลาย ตัวเต็มวัยมีลักษณะคล้ายยุง จะพบการระบาดในช่วงฤดูหนาว จะวางไข่ใต้ใบข้าวในตอนกลางคืน เพศเมีย 1 ตัวสามารถวางไข่ได้หลายร้อยฟองในชั่ว อายุ 4 วัน จะวางไข่ตั้งแต่ข้าวระยะกล้า (อายุ 25…

เอราสติกซ์ สารเสริมประสิทธิภาพฤทธิ์ยา คุณภาพดีจากประเทศเยอรมนี

เอราสติกซ์ สารเสริมประสิทธิภาพฤทธิ์ยา คุณภาพดีจากประเทศเยอรมนี คุณสมบัติและประโยชน์ ช่วยลดแรงตึงผิวของหยดสารละลายให้มีการแผ่กระจายปกคลุมผิวใบและผิวผลได้ดี ช่วยให้หยดสารละลายเปียกใบพืช จับติดผิวใบและผิวผล จับติดทนนาน ช่วยในการซึมผ่านของสารกำจัดศัตรูพืชเข้าสู่เนื้อเนื่อพืชได้ดี ช่วยเพิ่มการดูดซึมของสารกำจัดศัตรูพืช ช่วยให้สามารถละลายน้ำได้รวดเร็ว ช่วยให้สารละลายตกตะกอนช้า ช่วยให้สารกำจัดศัตรูพืชสามารถละลายรวมตัวกันได้ดี ช่วยลดการเกิดฟองในสารละลาย ช่วยปรับสภาพความเป็นกรดด่างของสารละลาย ช่วยลดปัญหาของน้ำกระด้างต่อสารละลาย ส่วนประกอบ -Non-ionic surfactants (surface active agents) -Spreader -Sticker -Wetting agents การใช้และอัตราการใช้ • ใช้ผสมกับ สารกำจัดวัชพืช สารกำจัดแมลงศัตรูพืช สารป้องกันกำจัดโรคพืช สารอาหารและฮอร์โมนพืช • ใช้ในอัตรา 5-10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร สนใจสั่งซื้อ ทักแชทได้ทาง อินบ็อก (Inbox) เพจเฟซบุ๊ก บริษัทเอราวัณเคมีเกษตรจำกัด หมายเหตุ ราคาจำหน่ายสินค้าในแต่ะละพื้นที่อาจไม่เท่ากัน ขึ้นกับต้นทุนการผลิตสินค้าในขณะนั้น ค่าการจัดการและค่าขนส่งในช่วงเวลานั้นๆ

เอราจิ๊บ 10 แก้ปัญหาดอกกุดสั้น ระยะดอกเหยีดตีนหนู ของทุเรียนทำสารแพคโคลบิวทราโซล

เอราจิ๊บ 10 (ERAGIB 10) ส่วนประกอบที่สําคัญ จิบเบอเรลลิคแอซิด 10% TB ประโยชน์ • ยืดช่อดอกและช่อผล • การติดผล • ขนาดผล • สร้างคุณภาพของเนื้อผล โดยเฉพาะส้ม ส้มโอ และมะนาว • ยืดลําต้น

ชุดบำรุงดอก ช่วยผสมเกสร เพิ่มการติดผล

เอิร์ท23 + ไซโฟแคล ดอกบานสะพรั่ง ด้วยชุดช่วยผสมเกสรในทุเรียน บำรุงดอก ดอกสมบูรณ์ เกสรแข็งแรง ช่วยผสมเกสรโดยสมบูรณ์ เพิ่มเปอร์เซ็นต์การติดผลในทุเรียน ผลทรงสวย เพิ่มปริมาณ และคุณภาพให้ผลผลิตทุเรียน ด้วยชุดผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงมาตรฐานยุโรป นำเข้าจากบริษัทไซโฟ ประเทศอิตาลี วิธีใช้ ใช้ เอิร์ท 23 อัตรา 10 ซีซี + ไซโฟแคล อัตรา 10 ชีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นทุเรียน 2 ครั้ง ทุก 7 วัน ในระยะกระดุม ระยะมะเขือพวง ดอกเริ่มบานไม่เกิน 10% ชุดช่วยผสมเกสรในทุเรียน ประกอบด้วย 1. เอิร์ท 23 ส่วนประกอบ 1. ทริพโตเฟน (TRYPTOPHAN) : ช่วยในการสังเคราะห์อินโดลอะซิติคแอซิด (Indoleacetic acid) ซึ่งเป็นสารอ็อกซินจากธรรมชาติที่ช่วยให้ขั้วเหนียว…