การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูลำไย

การใช้สารกำจัดแมลงศัตรูลำไย แมลงศัตรูลำไยที่สำคัญในช่วงแตกใบอ่อนและใบแก่ หนอนกินใบลำไย (Leaf eating caterpillar : Oxydesscro biculata) หนอนคืบละหุ่ง (Castor large semi-looper : Achaea Janata) หนอนคืบเขียวลำไย (Green longanlooper : Orothalassodes falsaria) หนอนมังกรหางพู่หรือหนอนหนาม (Large dragontailedcaterpillar : Dudusas ynopla) ผลิตภัณฑ์แนะนำ กำจัดด้วย เอรามิลิน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอรานูฟอส อัตราและวิธีใช้ อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราโพรทริน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 40 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราทริน 2.5 อีซี อัตราและวิธีใช้…

การใช้สารป้องกันกำจัดโรคศัตรูลำไย

การใช้สารป้องกันกำจัดโรคศัตรูลำไย โรคราน้ำฝน, โรคใบไหม้ และผลร่วงของลำไย (Phytophthora foliage blight and fruit rot : Phytophthora palmivora) พบระบาดมากในบางพื้นที่และบางฤดูกาลการเพาะปลูก เชื้อชนิดนี้จะพักตัวอยู่ในดินในรูปของคลาไมโดสปอร์ (Chlamydospores) พักตัวอยู่ในดินได้นานเป็นปีๆ เมื่อสภาวะเหมาะสมหรือเมื่อมีความชื้นมีน้ำก็จะงอกออกมาเป็นเส้นใย สร้างส่วนขยายพันธุ์ที่เรียกว่าสปอร์แรงเจียม(sporangium) ที่มีสปอร์ที่มีหางอยู่ภายในที่เรียกว่าซูโอสปอร์ (Zoospores) เมื่อแตกออกมาก็จะเคลื่อนที่ไปตามน้ำเข้าทำลายระบบรากของลำไย ซึ่งอาจจะแพร่กระจายติดไปกับดินปลูกและกิ่งพันธุ์ได้ เชื้อชนิดนี้สามารถเข้าทำลายระบบราก ลำต้น กิ่ง ใบและผลลำไยได้ โดยเฉพาะเมื่อเริ่มติดผลอ่อนจนกระทั่งผลแก่ โดยติดเชื้อจากความชื้นจากการไหล ชะล้างและแรงกระแทกจากน้ำฝน โรคผลเน่าสีน้ำตาล (Brown fruit rot) ผลิตภัณฑ์แนะนำ ป้องกันกำจัดด้วย เรนแมน อัตราและวิธีใช้ อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร เอราฟอสทิล อัตราและวิธีใช้ อัตรา 100 กรัมผสมน้ำ 20 ลิตร พ่นให้ทั่วใบและลำต้นเดือนละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 3…