การใช้สารป้องกันกำจัดโรคศัตรูมะม่วง

โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose : Colletotrichum  gloeosporioides)

โรคใบจุด ช่อดอกดำ ผลจุด ผลเน่า โอเตี้ยม

นับว่าเป็นโรคที่สำคัญสำหรับมะม่วง เชื้อสาเหตุสามารถเข้าทำลายได้ทั้งใบอ่อน ช่อดอก ผลอ่อนและผลที่สุกแล้ว

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ฟราวไซด์

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร

or-button

เอราสตาร์ 32.5 เอสซี 

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 5-10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร

or-button

เรสเปคท์ บูล72 ดับบลิวพี

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร

or-button

เอราสตาร์

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 5-10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร

or-button

เอราคลอราซ 450

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร

or-button

เอราโปรราซ 49 

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร

โรคราแป้ง (Powdery mildew : Oidium managiferae)

เชื้อราสามารถเข้าทำลายยังส่วนต่างๆของมะม่วงทั้ง ใบ ช่อดอกและผลอ่อน จะพบเห็นเส้นใยและสปอร์คล้ายผงแป้งสีขาว ทำให้ช่อดอกแห้ง ช่อดอกร่วง ผลอ่อนร่วง

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

โซซิม 50

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร

or-button

เอราวิล

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 10-20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร

or-button

เอราซิน 50 เอสซี

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 15-20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร

or-button

เอราซัล

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร

โรคจุดสนิม  โรคจุดสาหร่าย  โรคจุดตะไคร่ (AgalLeaf Spot)

เกิดจากสาหร่ายสีเขียว Cephaleuros virescense

พบระบาดมากในแหล่งเพาะปลูกที่มีความชื้นสูง ต้นมะม่วงที่มีพุ่มแน่นทึบ ใบได้รับแสงแดดน้อย จะเข้าทำลายที่ใบแก่เป็นจุดสีน้ำตาลอมส้มคล้ายๆกำมะหยี่ปกคลุมอยู่

ป้องกันกำจัดโดยวิธีพ่นทางใบ

 

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

โคปิน่า 85 ดับบลิวพี 

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร

or-button

ไอโรเน่ ดับบลิวจี

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 10-20 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร

or-button

เรสเปคท์ บูล 72 ดับบลิวพี 

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร

พ่นบริเวณใบที่พบการเกิดโรค

โรคราสีชมพู (Pink disease : Corticium  salmonicolor)

โรคเปลือกแตกยางไหล (Bark breaking and gummosis : Botryodiplodia sp.)

โรคกิ่งแห้งยางไหล (Dieback and Gummosis : Botryodiplodia  theobromae)

โรคราสีชมพู ในช่วงแรกจะเห็นเป็นเส้นใยสีขาวขึ้นปกคลุมกิ่ง ใบ ที่ปลายกิ่งจะเริ่มเหลืองและร่วงหล่นในที่สุด ต่อมาจะสร้างส่วนขยายพันธุ์กลายเป็นสีชมพู

ป้องกันกำจัดด้วยการทากิ่งที่เริ่มระบาดในช่วงแรก

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ฟราวไซด์ 

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 10-15 กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร

or-button

โคปิน่า 85 ดับบลิวพี

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร

or-button

ไอโรเน่ ดับบลิวจี 

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 20 กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร

ทาให้ทั่วบริเวณที่เกิดโรค และทาบริเวณรอยตัดของกิ่งที่ถูกตัดแต่ง และฉีดพ่นกิ่งด้วย

ฟราวไซด์ 

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 10-15 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร

or-button

โคปิน่า 85 ดับบลิวพี

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร

or-button

ไอโรเน่ ดับบลิวจี 

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 20 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร

พ่นบริเวณกิ่งที่เริ่มพบอาการเกิดโรคและตามรอยแผลที่ตัดแต่งกิ่ง

or-button

โรบินนิล

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

or-button

สโตนเฮนจ์

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

โรคช่อดอกดำ (Blossom blight)

เกิดจากเชื้อราหลายชนิด ที่เป็นผลพวงมาจากการเข้าทำลายของเพลี้ยไฟจึงควรกำจัดเพลี้ยไฟซึ่งเป็นสาเหตุเบื้องต้นเพื่อลดการระบาดของโรค และพ่นสารป้องกันกำจัดเชื้อรา

 

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ฟราวไซด์

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร

โรคราดำ (Sooty moulds, Black mildew: Copnodium sp., Melio sp.)

เกิดจากเพลี้ยจักจั่น เพลี้ยแป้งและเพลี้ยหอย ถ่ายมูลคล้ายๆน้ำหวาน เป็นอาหารให้เชื้อรากลุ่มนี้เจริญเติบโตเกิดเป็นแผ่นหรือคราบดำเคลือบอยู่บริเวณผิวภายนอก

การป้องกันกำจัด ให้ใช้วิธีกำจัดแมลงปากดูดสาเหตุคือ เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยแป้ง และเพลี้ยหอย ก็จะช่วยลดการระบาดของโรคได้ในระดับหนึ่ง

โรคคราบเปื้อนบนผลมะม่วง  โรคราปลากระทิง  ผลเปื้อนโรคราน้ำค้าง

ไม่ทราบสาเหตุของเชื้อรา แต่มักเกิดกับมะม่วงที่มีพุ่มแน่น ชายพุ่มชนกันจากการปลูกระยะชิดกันเกินไป สภาพอากาศมีน้ำค้างและหมอกลงจัด

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

เรนแมน

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 5 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร

โรคราน้ำค้างโรคราเสี้ยนหรือโรคปลายผลเน่า

เกิดจากการขาดธาตุแคลเซียมขณะมะม่วงกำลังออกดอกและติดผลดก

บำรุงธาตุอาหารในระยะออกดอก

 

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ไซโฟแคล

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร

บำรุงสารอาหารในระยะติดผลด้วย

แคลซิซาน

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร