โรคพืช

ปัญหาโรคศัตรูกล้วยไม้ที่มีสาเหตุมาจากเชื้อรา

โรคใบไหม้ โรคเกสรดำ กลีบดอกไหม้

โรคใบไหม้ในกล้วยไม้สกุลสปาโทกลอสทิส กล้วยไม้ดินใบหมาก กล้วยไม้เอื้องพร้าวและกล้วยไม้สกุลซิมบิเดียม

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

เอราสตาร์ 32.5 เอสซี

erastar-640

เรสเปคท์ บูล 72 ดับบลิวพี

เอราโปรราซ 49

อัตราและวิธีใช้

  • เอราสตาร์ 5 เอสซี (สารอะซอกซีสโตรบิน บวกสารไดฟีโนโคนาโซล 12.5%+20% เอสซี) อัตรา10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ผสมกับ เรสเปคท์ บูล 72 ดับบลิวพี อัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร
  • หรือพ่นสลับกับ เอราโปรราซ 49 ในอัตรา 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

โรคเน่าแห้งหรือโรคราเม็ดผักกาดในกล้วยไม้หลายสกุล

ทำให้หัวเน่า ลำต้นเน่า รากเน่า

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ฟราวไซด์

อัตราและวิธีใช้

ฟราวไซด์ (สารฟลูอะซินาม 50% เอสซี) ในอัตรา10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นอย่างน้อย 2 ครั้งห่างกัน 7-10 วัน

โรคเน่าดำหรือยอดเน่าหรือบางครั้งเรียกโรคเน่าเข้าไส้

ระบาดในกล้วยไม้หลายสกุล เช่น กล้วยไม้ลูกผสมสกุลหวาย แวนดา ทีเอ็มเอ แวนด้ารอทไชเดียน่า อะแรนดาคริสติน อะแรนดานอรา แคทลียา มอคคารา

  • อาการที่พบเห็นที่ต้นจะทำให้ใบเหลืองและหลุดร่วงจนชาวสวนเรียกว่า “โรคแก้ผ้า”
  • อาการที่พบเห็นที่ดอก กลีบดอกตูมจะเน่าและหลุดจากก้านช่อ
  • อาการที่ก้านช่อดอก ทำให้ก้านช่อดอกเน่าดำและหักพับในที่สุด
  • อาการที่ราก ทำให้รากเน่า แห้งแฟบ

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

เรนแมน

อัตราและวิธีใช้

เรนแมน (สารไชยาโซฟามิด 40% เอสซี) ในอัตรา 5 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ควรพ่นซ้ำอย่างน้อย 2 ครั้งห่างกัน 7-10 วัน

โรคดอกสนิมหรือจุดสนิม

  • พบระบาดมากในกล้วยไม้ลูกผสมสกุลหวายเช่น หวายขาว หวายชมพู หวายปอมปาดัวร์ หวายซีซาร์
  • มักระบาดในช่วงที่มีฝนตกหนักในช่วงฤดูฝนหรือมีน้ำค้างลงมาก จะพบเห็นเป็นจุดสีสนิมเข้มบนกลีบดอก

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

เอราคลอราซ 450

อัตราและวิธีใช้

เอราคลอราซ 450 (สารโพรคลอราซ 45% อีซี) ในอัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

โรคใบปื้นเหลือง

  • พบระบาดมากในกล้วยไม้สกุลหวาย

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

แคปแทน 50

แคปแทน 50

เอราคลอราซ 450

อัตราและวิธีใช้

  • แคปแทน50 (สารแคปแทน 50% ดับบลิวพี) ในอัตรา 40 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
  • พ่นสลับกับ เอราคลอราซ 450 (สารโพรคลอราซ 45% อีซี) ในอัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

โรคใบจุดฟิลลอสติคติน่าโรคใบขี้กลาก

  • พบระบาดมากในกล้วยไม้สกุลหวายและแวนด้า

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

เอราคลอโรนิล 75

อัตราและวิธีใช้

เอราคลอโรนิล 75 (สารคลอโรทาโลนิล 75% ดับบลิวพี) ในอัตรา 25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร

ปัญหาโรคศัตรูพืชกล้วยไม้ที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย

โรคกลีบดอกไหม้ของกล้วยไม้สกุลมอคคารา

โรคใบจุดและโรคเน่าในกล้วยไม้สกุลออนซิเดียม

โรคลำต้นเน่าในกล้วยไม้สกุลแกรมมะโตฟิลลัม

โรคเน่าเละในกล้วยไม้สกุลฟาเลนนอฟซิส

  • การป้องกันกำจัดโรคศัตรูกล้วยไม้ที่มีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรียโดยการใช้สารเคมีเกษตรชาวสวนกล้วยไม้ใช้สาร เจนต้าไมซินซัลเฟต (gentamycin sulfate) ผสมออกซี่เตตร้าไซคลินไฮโดรคลอไรด์ (oxytetracycline hydrochloride) สามารถป้องกันกำจัดได้ในระดับหนึ่ง แต่การใช้ซ้ำๆกันหลายครั้งทำให้เกิดอาการดื้อยาได้ง่ายหรือการใช้ในอัตราความเข้มข้นสูงอาจทำให้กล้วยไม้เกิดอาการเป็นพิษกลายเป็นสีเหลืองซีดขาวโดยเฉพาะกล้วยไม้สกุลแวนด้าและเอสโคเซนด้า อีกทั้งยังมีต้นทุนที่สูงอีกด้วย

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ไอโรเน่ ดับบลิวจี

อัตราและวิธีใช้

การแช่หน่อพันธุ์ลำลูกกล้วยด้วย  “ไอโรเน่ ดับบลิวจี” ในอัตรา 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ก่อนนำไปปลูกจะช่วยลดการระบาดของโรคกล้วยไม้ที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย จะช่วยลดการเกิดโรคได้ในระดับหนึ่ง และภายหลังปลูกหากพ่นด้วย  ไอโรเน่ ดับบลิวจี ในอัตราเดียวกันคือ 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตรจะช่วยให้การควบคุมโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ปัญหาแมลงศัตรูกล้วยไม้ที่ยุ่งยากต่อการกำจัด

เพลี้ยไฟศัตรูวายร้ายที่ต้านยา

  • ปัญหาเพลี้ยไฟ เป็นปัญหาหลักที่จัดการได้ยาก กล้วยไม้ส่งออกไปยังสหภาพยุโรปตรวจพบสารตกค้างประเภทสารกำจัดเพลี้ยไฟในกล้วยไม้เป็นหลักเพลี้ยไฟชาวสวนกล้วยไม้รู้จักกันในชื่อว่า “ตัวกินสี” เป็นแมลงปากดูดที่มีขนาดเล็กมากที่หลบซ่อนอยู่ตามซอกกลีบดอก จนยากที่จะพบเห็นตัวได้

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ผลิตภัณฑ์บริษัท เอราวัณเคมีเกษตรที่สามารถกำจัดเพลี้ยไฟได้ส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติออกฤทธิ์แบบดูดซึมเป็นหลักหรือซึมผ่านใต้พื้นผิวใบสารในกลุ่มนีโอนิโคตินอยด์ ได้แก่

เอราคอน 70

เอราท็อกซ์

เอราทริป 5 เอสซี

เอราเมท โกลด์

เอราทริน 2.5

อัตราและวิธีใช้

เอราคอน 70 (สารอิมิดาคลอพริด 70% ดับบลิวจี) ให้ใช้ในอัตรา 5 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร

และ เอราท็อกซ์ (สารไทอะมีโทแซม 25% ดับบลิวจี) ให้ใช้ในอัตรา 5 กรัม ต่อน้ำ 20  ลิตร

 

โดยพ่นสลับหรือใช้ร่วมกันกับสารกำจัดเพลี้ยไฟชนิดอื่นๆ เช่น

เอราทริป 5 เอสซี (สารฟิโพรนิล 5% เอสซี) ใช้ในอัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

เอราเมท โกลด์ (สารไดเมโทเอต 40% อีซี) สูตรปรับปรุงใหม่จากยุโรป ด้วยสูตรผสมที่คงสภาพสารออกฤทธิ์อยู่ได้นาน ปลอดภัยต่อสภาพแวดล้อม ใช้ในอัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

เอราทริน 2.5 (สารแลมบ์ด้า ไซฮาโลทริน 2.5% อีซี)ใช้ในอัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

ไรแมงมุมเทียมศัตรูคู่กล้วยไม้ตลอดกาล

ไรแมงมุมเทียมกล้วยไม้

นับว่าเป็นศัตรูที่สำคัญในกล้วยไม้ โดยเฉพาะกล้วยไม้สกุลหวายและฟาเลนนอพซิส พบระบาดมากจนมีชื่อสามัญว่า ฟาเลนนอพซิสไมท์

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ไมทาไซด์

เอราทริน 2.5

เอราไมท์ 20

อัตราและวิธีใช้

ไมทาไซด์ (สารอามีทราส 20% อีซี)

ให้ใช้ในอัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

หากใช้ร่วมกับสารในกลุ่มไพรีทรอยด์ เช่น เอราทริน 2.5 (แลมดา ไซฮาโลทริน 2.5 อีซี) จะเสริมฤทธิ์การทำงานซึ่งกันและกัน

 

เอราไมท์ 20 (สารไพริดาเบน 20% ดับบลิวพี) สามารถกำจัดไรศัตรูกล้วยไม้ได้อย่างรวดเร็วและควบคุมได้ยาวนานสามารถกำจัดได้ทุกระยะของการเจริญเติบโต โดยเฉพาะในระยะทั้งตัวอ่อนและตัวแก่

ให้ใช้ในอัตรา 20กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร

 

ดังนั้นการใช้เพื่อการกำจัดไรศัตรูกล้วยไม้น่าจะใช้ร่วมกันทั้ง ไมทาไซด์ และ เอราไมท์ สามารถช่วยลดการดื้อยาได้ เพราะอยู่ต่างกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์

สารกำจัดแมลงศัตรูพืชที่สามารถกำจัดไรศัตรูกล้วยไม้ได้ด้วย ได้แก่

เอราเมท โกลด์

เอรามอล 83

เอราเม็คติน

เอราเมท โกลด์ (สารไดเมโทเอต 40% อีซี) สูตรปรับปรุงใหม่จากยุโรป ด้วยสูตรผสมที่คงสภาพสารออกฤทธิ์อยู่ได้นาน ปลอดภัยต่อสภาพแวดล้อม ใช้ในอัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

เอรามอล 83 (สารมาลาไทออน 83% อีซี) ใช้ในอัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

เอราเม็คติน (สารอะบาเเมคติน 1.8% อีซี) ใช้ในอัตรา 15 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

 

สารป้องกันกำจัดโรคพืชที่สามารถกำจัดไรศัตรูกล้วยไม้ได้ด้วย

ฟราวไซด์

เอราซัล

ฟราวไซด์ (สารฟลูอะซินาม 50% อีซี)ใช้ในอัตรา 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

เอราซัล  (สารซัลเฟอร์ 80% ดับบลิวพี) ใช้ในอัตรา 30 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร การใช้เอราซัล จะต้องระมัดระวังการใช้สำหรับกล้วยไม้บางสกุลที่อาจพบอาการเกิดพิษได้ ควรหลีกเลี่ยงการพ่นในขณะที่มีอากาศร้อน

บั่วกล้วยไม้ หนอนแมลงวันดอกกล้วยไม้ ไอ้ฮวบ

ไรแมงมุมเทียมกล้วยไม้

นับว่าเป็นศัตรูที่สำคัญในกล้วยไม้ โดยเฉพาะกล้วยไม้สกุลหวายและฟาเลนนอพซิส พบระบาดมากจนมีชื่อสามัญว่า ฟาเลนนอพซิสไมท์

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ไมทาไซด์

เอราทริน 2.5

เอราไมท์ 20

อัตราและวิธีใช้

ไมทาไซด์ (สารอามีทราส 20% อีซี)

ให้ใช้ในอัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

หากใช้ร่วมกับสารในกลุ่มไพรีทรอยด์ เช่น เอราทริน 2.5 (แลมดา ไซฮาโลทริน 2.5 อีซี) จะเสริมฤทธิ์การทำงานซึ่งกันและกัน

 

เอราไมท์ 20 (สารไพริดาเบน 20% ดับบลิวพี) สามารถกำจัดไรศัตรูกล้วยไม้ได้อย่างรวดเร็วและควบคุมได้ยาวนานสามารถกำจัดได้ทุกระยะของการเจริญเติบโต โดยเฉพาะในระยะทั้งตัวอ่อนและตัวแก่

ให้ใช้ในอัตรา 20กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร

 

ดังนั้นการใช้เพื่อการกำจัดไรศัตรูกล้วยไม้น่าจะใช้ร่วมกันทั้ง ไมทาไซด์ และ เอราไมท์ สามารถช่วยลดการดื้อยาได้ เพราะอยู่ต่างกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์

สารกำจัดแมลงศัตรูพืชที่สามารถกำจัดไรศัตรูกล้วยไม้ได้ด้วย ได้แก่

เอราเมท โกลด์

เอรามอล 83

เอราเม็คติน

เอราเมท โกลด์ (สารไดเมโทเอต 40% อีซี) สูตรปรับปรุงใหม่จากยุโรป ด้วยสูตรผสมที่คงสภาพสารออกฤทธิ์อยู่ได้นาน ปลอดภัยต่อสภาพแวดล้อม ใช้ในอัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

เอรามอล 83 (สารมาลาไทออน 83% อีซี) ใช้ในอัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

เอราเม็คติน (สารอะบาเเมคติน 1.8% อีซี) ใช้ในอัตรา 15 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

 

สารป้องกันกำจัดโรคพืชที่สามารถกำจัดไรศัตรูกล้วยไม้ได้ด้วย

ฟราวไซด์

เอราซัล

ฟราวไซด์ (สารฟลูอะซินาม 50% อีซี)ใช้ในอัตรา 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

เอราซัล  (สารซัลเฟอร์ 80% ดับบลิวพี) ใช้ในอัตรา 30 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร การใช้เอราซัล จะต้องระมัดระวังการใช้สำหรับกล้วยไม้บางสกุลที่อาจพบอาการเกิดพิษได้ ควรหลีกเลี่ยงการพ่นในขณะที่มีอากาศร้อน