การป้องกันกำจัดโรคศัตรูมะเขือเทศ

โรคกล้าเน่า โรคเน่าคอดิน

พบกล้าเน่าภายหลังย้ายกล้าปลูกลงดิน ต้นหักพับในระดับผิวดิน

เชื้อสาเหตุของโรคติดมากับเมล็ดพันธุ์ ดังนั้นก่อนเพาะเมล็ด ให้แช่เมล็ดในน้ำอุ่น 55 องศาเซลเซียส นาน 20 นาที

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ภายหลังย้ายกล้าปลูกลงแปลงแล้ว พ่นป้องกันกำจัดด้วย

เรนแมน

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 5 ซีซีต่อน้ำ 20ลิตร

โรคโคนต้นเน่า โรคราเมล็ดผักกาด

เกิดเป็นเม็ดสีน้ำตาล โดยมีขุยสีขาวปกคลุมอยู่บริเวณโคนต้น ทำให้โคนต้นเน่า ใบเหี่ยว

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ป้องกันกำจัดด้วย

ฟราวไซด์

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร

โรคใบแห้ง โรคใบไหม้

ทำให้ใบแห้งเหี่ยวตาย ทำให้เกิดแผลสีน้ำตาลบนผล พบอาการผิวผลแตก เน่าและหลุดร่วงในที่สุด

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ป้องกันกำจัดด้วย

เรนแมน

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 5 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร

แฟนติค เอ็ม

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร

เรสเปคท์ บูล

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 60 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร

โรคใบจุดวง

เกิดเป็นจุดวงกลมสีน้ำตาลและจุดเหลี่ยมซ้อนๆกันบนใบ

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ป้องกันกำจัดด้วย

ฟราวไซด์

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร

เอราคลอโรนิล 75

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 25 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร

โรครากำมะหยี่สีเขียว

เกิดเป็นขุยของเชื้อราเป็นแผ่นคล้ายกำมะหยี่สีเขียวอมเหลือง

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ป้องกันกำจัดด้วย

แฟนติค เอ็ม

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร

เรสเปคท์ บูล

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 60 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร

โรคแอนแทรคโนส

เกิดแผลเป็นจุดบุ๋มสีน้ำตาล ทำให้ผลแตกและเน่าเละ

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ป้องกันกำจัดด้วย

ฟราวไซด์

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร

โรคสะเก็ดดำ โรคสะแคป

เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เข้าทำลายได้ทั้งใบ กิ่ง ก้านดอกและผล ทำให้เกิดตุ่มนูน เป็นสะเก็ดสีดำ

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ป้องกันกำจัดด้วย

ไอโรเน่

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 15 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร

โรคเหี่ยวเขียว โรคเน่าสีน้ำตาลที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย

พบอาการเหี่ยวจากส่วนยอด โดยที่ใบยังเขียวอยู่

ให้ถอนต้นที่เป็นโรคเผาไฟทิ้งไป

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

พ่นทางใบด้วย

ไอโรเน่

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 15 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร

โรคเหี่ยวที่เกิดจากไส้เดือนฝอย

ทำให้ใบส่วนล่างเหลืองร่วง รากมีปม ที่เรียกว่า โรครากปม

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ป้องกันกำจัดด้วย

นีมาโธริน

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 4-6 กิโลกรัม

คลุกเคล้าลงไปในดินในแปลงปลูกให้ทั่วบริเวณ ก่อนย้ายกล้าปลูกลงแปลง หรือหยอดก้นหลุมก่อนย้ายกล้าปลูกลงแปลง

โรคปลายผลเน่า โรคก้นเน่า

ทำให้เกิดเป็นปื้นแผลช้ำสีน้ำตาลดำบริเวณก้นผล ก้นผลยุบลง จนกระทั่งผลเน่าแห้งดำ เกิดจากการขาดธาตุแคลเซี่ยม

ผลิตภัณฑ์แนะนำ

ใส่ทางดินรองก้นหลุมก่อนย้ายกล้าปลูกลงแปลง ด้วย

ไมโครแคล

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 10 กรัมต่อหลุม

พ่นทางใบ ป้องกันกำจัดด้วย

ไซโฟแคล

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร

แคลซิซาน

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร

พ่นเมื่อเริ่มติดผล

ถ้าหากมีอาการผลเน่าเละที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าทำลายภายหลัง พ่นป้องกันกำจัดด้วย

ไอโรเน่

อัตราและวิธีใช้

อัตรา 20 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร